แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2545
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
COP : พัฒนาแหล่งน้ำ.
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
การรณรงค์กิจกรรมวาระน้ำแห่งชาติ ทน.ได้จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 4 มิ.ย.50มอบหมายผู้รับผิดชอบหน่วยงานหลัก ของแต่ละกิจกรรมรณรงค์ มีหนังสือแจ้งหน่วยงาน.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การประชาคมชุมชน โครงการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การจัดทำ แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

ประเด็นนำเสนอ 1. วัตถุประสงค์การนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ 2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 3. ปฏิทินการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2 4. กรอบแนวคิดกระบวนการจัดทำแผนฯ 5 ขั้นตอน 5. กำหนดการรับฟัง (ความคิดเห็น) สภาพปัญหา ในพื้นที่ทั้งกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 (โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ) 6. รายละเอียดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

1.วัตถุประสงค์ในการนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ 1.1 เพื่อให้คณะกรรมการลุ่มน้ำ รับทราบ ความเป็นมา กรอบแนวคิดในการ จัดทำแผนฯ ก่อนที่คณะอนุฯ กลุ่ม 1 และ 2 มารับฟังความคิดเห็นในพื้นที่ 1.2 เตรียมสภาพปัญหาในพื้นที่ / แผนการแก้ไขปัญหา เพื่อเสนอหาก การจัดทำแผนฯ ที่นำมารับฟัง ความคิดเห็นไม่ตรงกับพื้นที่

2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 85/2557 2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 85/2557 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดนโยบาย และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ จัดทำนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่ม 1 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก (ชป.) กลุ่ม 2 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ (ทน.) กลุ่ม 3 คณะอนุกรรมการจัดการระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ กลุ่ม 4 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เกี่ยวกับการจัดองค์กร และการออกกฎ กลุ่ม 5 คณะอนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม

คณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 มีอำนาจหน้าที่ที่สำคัญดังนี้ จัดทำแผนงานและโครงการในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ (กลุ่ม 1 พื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก และกลุ่ม 2 พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้) เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เสนอแนะแนวทางการดำเนินการ เพื่อแก้ไขปัญหา และวิธีการดำเนินการ พร้อมทั้งผลกระทบที่จะได้รับจากการดำเนินการ รวมทั้งให้จัดลำดับความเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหา เสนอแนะโครงการที่จะดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งจัดลำดับความเร่งด่วน และผลกระทบที่จะได้รับการโครงการ เสนองบประมาณโดยสังเขป ตามความเร่งด่วน พร้อมส่วนราชการที่รับผิดชอบ

3. ปฏิทินการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2 ปฏิทิน/ขั้นตอนการดำเนินงาน 30 ก.ค. 57 ส.ค ก.ย. ต.ค. week 1 (1-7) week 2 (8-14) week 3 (15-21) week 4 (22-29) week 1 (30-5) week 2 (6-13) week 3 (14-20) week 4 (21-27) week 1 (28-4) week 2 (5-11) week 3 (12-15) 1. คณะอนุกรรมการฯ เสนอความเห็นให้คณะกรรมการฯและที่ปรึกษาพิจารณา   2. ประชุมอนุฯ ร่วม 1-2 พิจารณาชี้ประเด็นปัญหากรอบแนวทางการดำเนินงาน 5 ส.ค.57 3. ประชุมคณะทำงานกลุ่มย่อยเพื่อปรับปรุงข้อมูล 13-15 ส.ค. 57 4. สังเคราะห์ข้อมูล/ปรับกลยุทธ์มาตรการ/จัดลำดับยุทธศาสตร์/เสนอร่างแผนงาน/โครงการ 18-31 ส.ค. 57 5. ประชุมอนุฯ ร่วม 1-2 พิจารณาร่างแผนฯ 5 ก.ย. 57 6. ลงพื้นที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน 8-15 ก.ย. 57 7. ประชุมอนุฯ ร่วม 1-2 พิจารณาแผนฯ ฉบับสมบูรณ์ 18 ก.ย. 57 8. เสนอแผนให้คณะกรรมการฯและที่ปรึกษาพิจารณา 25 ก.ย. 57 9. ปรับปรุงแผนตามความเห็นของคณะกรรมการฯและที่ปรึกษา 5 ต.ค. 57 10. คณะกรรมการฯ แถลงแผนการบริหารจัดการน้ำ 15 ต.ค. 57

4. กรอบแนวคิด กระบวนการจัดทำแผน 5 ขั้นตอน ระบบลุ่มน้ำ/การมีส่วนร่วม 1.ชี้ปัญหา 2.วิเคราะห์สาเหตุ 3.กำหนดยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหา 4.การจัดกลุ่มโครงการ 5.แผนบริหารจัดการน้ำ 1. ระยะเร่งด่วน 2. ระยะสั้น 3. ระยะกลาง 4. ระยะยาว ระบบลุ่มน้ำ/การมีส่วนร่วม เชิงรุก เชิงรับ 1. กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง 2. กลุ่มบรรเทาน้ำท่วม 3. กลุ่มจัดการคุณภาพน้ำ (ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่) 1. ใช้สิ่งก่อสร้าง 2. ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง 1. ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ (ตอนบน ตอนกลาง และตอนล่าง) 2. จากธรรมชาติ/มนุษย์ 3.ปัจจัยภายนอก ภายใน (SWOT) 1. ปัญหาอะไร (เหมาะสมตามกาลสมัย) 2. ความชัดเจน (สถานที่ ขนาด เวลา ความถี่ และผลกระทบ) 3. จะแก้หรือไม่ (ภูมิกายภาพ สังคม)

การมีส่วนร่วม กระบวนการจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ ภัยแล้ง น้ำท่วม หลักเกณฑ์ ตำแหน่ง/ช่วงเวลา/ความถี่ ผลกระทบ (มูลค่า-ความเสียหาย) ภัยแล้ง น้ำท่วม คุณภาพน้ำ 1.ชี้ปัญหา การมีส่วนร่วม 1.อุปโภคบริโภค 2.รักษานิเวศ 3.เกษตร 4.อุตสาหกรรม 1.พื้นที่เศรษฐกิจ 2.ชุมชนเมือง 3.พื้นที่เกษตร 1. น้ำเสีย 2.น้ำเค็ม วิธีวิเคราะห์ สถิติ-แนวโน้ม SWOT ธรรมชาติ มนุษย์ 2.วิเคราะห์สาเหตุ ภูมิกายภาพลุ่มน้ำ อุตุ อุทก - น้ำบาดาล การใช้ที่ดิน(เกษตร-ป่าไม้)ประชากร/เศรษฐกิจสังคม 3.ยุทธศาสตร์ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.ประสิทธิภาพการใช้น้ำต้นทุน 2.ระบบฐานข้อมูล 3.บริหารจัดการแหล่งเก็บกักน้ำ 4.บริหารจัดการอุทกภัย 5.กำหนดZoning (ภาคเกษตร/อุตสาหกรรม/ชุมชน) 6.การจัดการพืชคลุมดิน 7.ฟื้นฟูต้นน้ำ 8.ติดตามคุณภาพน้ำ 9.ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการน้ำ 10.การบริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย 11.การจัดการองค์กรและการมีส่วนร่วม ภัยแล้ง / น้ำท่วม/คุณภาพน้ำ กลยุทธ ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.จัดหาแหล่งกักเก็บน้ำ 2.จัดหาน้ำ 3.เพิ่มเสถียรภาพน้ำต้นทุน 4.นำน้ำมาใช้ประโยชน์ 5.ระบบกระจายน้ำ 6.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 7.ระบบป้องกันน้ำท่วม 8.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการ 9.แผนบริหารจัดการน้ำอุปโภค-บริโภค มาตรการ เชิงรุก กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มบรรเทาน้ำ ท่วม กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ 4.จัดกลุ่มโครงการ เชิงรับ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 5.แผนบริหารจัดการน้ำ แผนงาน ดำเนินการ ศึกษา สวล. ออกแบบ ก่อสร้าง ที่ตั้ง/พท.รับประโยชน์/ ผลกระทบ/ผลสัมฤทธิ์/ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เร่งด่วน (58) สั้น (59) กลาง (60-64) ยาว (65ขึ้น)

พื้นที่ภัยแล้งด้านเกษตร พื้นที่ภัยแล้งอุปโภคบริโภค 1.1 ชี้ปัญหาภัยแล้ง การวิเคราะห์ปัญหาภัยแล้ง ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ พด./ สสนก. พด. ปภ./ชป. สสนก./ปภ. พื้นที่ภัยแล้งด้านเกษตร ทน./สสนก. ปภ./ทน. พด./ทน. พื้นที่ภัยแล้งอุปโภคบริโภค 26 -120 ล้านไร่ 915 ตำบล 915 ตำบล 4,619 ล้าน ลบ.ม./ปี พื้นที่ภัยแล้ง ด้านอุตสาหกรรม ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ สสนก./กรอ. สสนก./ปภ. กรอ. กรอ./ปภ. ทน./ชป. ชป. รักษาระบบนิเวศ ปริมาณน้ำ 28,533 ล้าน ลบ.ม./ปี

พื้นที่เศรษฐกิจและชุมชน 0.171 ล้านไร่ 1.2 ชี้ปัญหาน้ำท่วม ปริมาณความเสียหาย พื้นที่เศรษฐกิจและชุมชน 0.171 ล้านไร่ พื้นที่เกษตร 4.99 ล้านไร่ การวิเคราะห์ปัญหาอุทกภัย ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ กทม./สสนก. กทม./พด. พด./สสนก. ปภ. สสนก./ปภ. พด. กทม./ปภ. พื้นที่อุทกภัยเขตเศรษฐกิจ พื้นที่อุทกภัยเทศบาลนคร พด./สสนก. ปภ./ชป. สสนก./ปภ. พด. พื้นที่อุทกภัยด้านเกษตร ตำแหน่ง ช่วงเวลา ความถี่ ผลกระทบ พด./สสนก. พด. ปภ./ชป. สสนก./ปภ. พื้นที่อุทกภัยเทศบาลตำบล/เมือง

ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำและระดับความรุนแรง 1.3 ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำและระดับความรุนแรง คุณภาพน้ำ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ น้ำเสียและน้ำเค็ม ดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index: WQI) พิจารณาจาก ค่าคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ ได้แก่ ออกซิเจนละลาย ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม และแอมโมเนีย – ไนโตรเจน เกณฑ์ คุณภาพน้ำ แหล่งน้ำผิวดินในภาคต่างๆ ของประเทศ ร้อยละของแหล่งน้ำ เหนือ กลาง ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ ดี วัง อิง กก(+) ลี้(+) แม่จาง แควใหญ่ แควน้อย อูน สงคราม หนองหาร ลำชี เวฬุ ประแสร์(+) ตาปีตอนบน ตรัง ปัตตานีตอนบน พุมดวง(+) 26 พอใช้ ปิง ยม น่าน กวง(+) กว๊านพะเยา เจ้าพระยาตอนบน เพชรบุรีตอนบน(-) น้อย แม่กลอง ปราณบุรี กุยบุรี พอง ชี มูล(-) เสียว ลำปาว เลย(-) ลำตะคองตอนบน(-) พังราดตอนล่าง จันทบุรี(-) ตราด(-) บางปะกง นครนายก ปราจีนบุรี ตาปีตอนล่าง ทะเลน้อย ทะเลหลวง(-) สายบุรี(-) ปากพนัง ปัตตานีตอนล่าง หลังสวนตอนบน(-) หลังสวนตอนล่าง ทะเลสาบสงขลา 51 เสื่อมโทรม บึงบอระเพ็ด เจ้าพระยาตอนล่าง เจ้าพระยาตอนกลาง(-) ท่าจีนตอนบน(-) ท่าจีนตอนกลาง,ตอนล่าง ป่าสัก ลพบุรี สะแกกรัง(-) เพชรบุรีตอนล่าง ลำตะคองตอน ล่าง ระยองตอนบน ระยองตอนล่าง พังราดตอนบน ชุมพร(-) 23

ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำ (น้ำเค็ม) การเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพน้ำด้านความเค็ม ในช่วงฤดูแล้ง ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนมิถุนายนของทุกปี ไม่ให้น้ำทะเลรุกล้ำเข้ามาทำอันตรายหรือทำให้เกิดผลกระทบต่อการเกษตร การประปา 1.3 เกณฑ์ค่าความเค็ม แม่น้ำเจ้าพระยา ลุ่มน้ำที่ต้องเฝ้าระวัง  1. การเกษตรมีค่าความเค็มไม่เกิน 2.0 กรัม/ลิตร 2. การผลิตประปามีค่าความเค็มไม่เกิน 0.25 กรัม/ลิตร

วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหา (2) การวิเคราะห์สาเหตุ ข้อมูลเชิงสถิติ วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ข้อมูลเชิงแผนที่ 1.กายภาพลุ่มน้ำ 2.อุตุ-อุทกวิทยา 3.ดินและการใช้ประโยชน์ที่ดิน 4.ป่าไม้และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 5.ประชากร เศรษฐกิจ สังคม 6.โครงการพัฒนาแหล่งน้ำในปัจจุบัน 7.ความต้องการใช้น้ำ 8.สถานการณ์ภัยแล้ง 9.สถานการณ์น้ำท่วม 10.คุณภาพน้ำ ยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหา

ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่วม พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเป้าหมาย พื้นที่และระดับความรุนแรง จาก พด. พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเป้าหมาย ผลกระทบ/ความเสียหายจาก ปภ. พื้นที่และปริมาณน้ำท่วม ของ GISTDA

ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาน้ำเสีย ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาน้ำเค็ม ท่าน้ำนนท์ จังหวัดนนทบุรี เกณฑ์เพื่อการเกษตร 2 กรัม/ลิตร ปากคลองสำแล จังหวัดปทุมธานี เกณฑ์เพื่อผลิตประปา 0.25 กรัม/ลิตร ข้อมูลเพิ่มเติม 1. ข้อมูลจุดที่เกิดปัญหา/ความถี่ จาก คพ. 2. ข้อมูลพารามิเตอร์ จุดที่เกิด ปัญหา/ความถี่ จาก คพ.

(3) ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหา บรรเทา ปัญหาน้ำท่วม แก้ปัญหาภัยแล้ง แก้ปัญหาคุณภาพน้ำ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.บริหารจัดการน้ำแล้ง-น้ำหลาก-คุณภาพน้ำ 2.ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ 3.พืชคลุมดิน 4.zoning (เกษตร-อุตสาหกรรม) 5.ปรับระบบปลูกพืช 5.3R 6.ระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ 7.พยากรณ์/เตือนภัย 8.ระบบฐานข้อมูลบริหารจัดการน้ำ 9.ระบบติดตามประเมินผล 10.หน่วยงาน/องค์กรบริหารจัดการน้ำในทุกระดับ 11.นโยบาย/กฎหมาย 12.ประชาสัมพันธ์ 13.ตั้งหน่วยงานบริหารจัดการอุทกภัย ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.จัดหาแหล่งเก็บกักน้ำ 2.โครงข่ายน้ำ 3.ระบบส่งน้ำ 4.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการ 5.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 6.แก้มลิง 7.เติมน้ำลงใต้ดิน 8.ผันน้ำ/ช่องลัด 9.แผนบริหารจัดการน้ำอุปโภค-บริโภค 10.ระบบป้องกันน้ำท่วม 11.ระบบบำบัดน้ำเสีย 12.ระบบป้องกันน้ำเค็ม 13.ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่

การรับฟังความคิดเห็น กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ (4) จัดกลุ่มโครงการ การรับฟังความคิดเห็น ขนาดเล็ก กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มบรรเทา น้ำท่วม ขนาดกลาง เชิงรุก เชิงรับ ขนาดใหญ่ กลุ่มจัดการ คุณภาพน้ำ

(5) แผนบริหารจัดการน้ำ 5. แผนบริหารจัดการน้ำ เป้าหมาย แผนงาน ระยะแผน +เร่งด่วน +สั้น +กลาง +ยาว ดำเนินก าร ศึกษา สวล. ออกแบ บ ก่อสร้าง 58 59 60 - 64 65 ขึ้นไป ตัวชี้วัด 1. แก้ปัญหาตรงจุด 2. แก้ปัญหาอย่างยั่งยืน 3. เหมาะสม (ผลประโยชน์-ผลกระทบ-ประหยัด) 4. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (output / outcome)

5. กำหนดการรับฟังความคิดเห็นในพื้นที่ ลำดับ พื้นที่ภาค จังหวัด วันที่ หมายเหตุ 1. 2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา (รร.สีมาธานี) อุดรธานี (ร.ร.นภาลัย) 8 กันยายน 2557 9 กันยายน 2557 คณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2 ทน. ------------- ” ------------- 3. 4. ภาคใต้ สุราษฏร์ธานี (ร.ร.ไดมอนด์พลาซ่า) สงขลา (ร.ร.หรรษาเจบี) 11 กันยายน 2557 12 กันยายน 2557 5. 6. ภาคเหนือ เชียงใหม่ พิษณุโลก คณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 1 ชป. 7. ภาคกลาง อยุธยา 10 กันยายน 2557 8. ภาคตะวันตก เพชรบุรี 9. ภาคตะวันออก ระยอง

6. รายละเอียดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ เพื่อยกร่างแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ” พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหา ในแต่ละลุ่มน้ำ เพื่อนำมาประกอบการยกร่างแผนฯ 2. เพื่อยกร่างแผนการบริหารจัดการน้ำพื้นที่ภาตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก กลุ่มเป้าหมาย ตัวแทนคณะกรรมการลุ่มน้ำ ทั้ง 25 ลุ่มน้ำ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิธีการ 1. นำเสนอกรอบแนวคิดการจัดทำแผนฯ 2. แบ่งกลุ่มย่อยตามลุ่มน้ำ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา 3. ยกร่างยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาตามกลุ่มลุ่มน้ำย่อย 4. สรุปผลภาพรวมในระดับลุ่มน้ำ 5. สรุปผลภาพรวมในระดับภาค

จบการนำเสนอ