(Strategy Implementation) การดำเนินกลยุทธ์ (Strategy Implementation)
ความยากของการดำเนินกลยุทธ์ เป็นการเปลี่ยนจากความคิดเป็นการลงมือกระทำ เป็นทักษะที่สำคัญในการจัดการ ความยากของการดำเนินกลยุทธ์ 1) ระบบภูมิคุ้มกันขององค์กร (Organizational Immune System) 2) ความคิดแย้ง (Conflict) 3) ความกลัวการเปลี่ยนแปลง (Change) 4) มีตัวแปรมาก และ เกี่ยวเนื่องกัน
3) ความกลัวการเปลี่ยนแปลง (Change) 1) ระบบภูมิคุ้มกันขององค์กร (Organizational Immune System) ปกติมนุษย์แสวงหาความมั่นคง ความสมดุล ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ชอบที่จะดำรงสถานะเดิมที่ดีอยู่แล้ว (status quo) เหล่านี้คือสิ่งที่ผู้นำ (leader) จะต้องเอาชนะให้ได้ 2) ความคิดแย้ง (Conflict) บุคคลประเภทมักจะเงียบแต่วิจารณ์ภายหลัง หรือประเภทชอบกล่าว “เปล่า ไม่มีอะไร” (silence cynic & naysayer) แก้ไขโดยการให้บุคคลเหล่านี้เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย 3) ความกลัวการเปลี่ยนแปลง (Change) แก้ไขโดยให้ความชัดเจนในเรื่องผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
4) มีตัวแปรมาก ตัวแปรที่เกี่ยวข้องมีจำนวนมาก ผลกระทบต่อเนื่องของตัวแปร จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง ไม่ใช่เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
INTERVENTION ACTIVITY ORGANIZATIONAL WORK SETTING Social Factors Technology Physical Setting Organizing Arrangements Individual Behavior ORGANIZATIONAL OUTCOMES Organizational Performance Development
กรอบดำเนินกลยุทธ์ 7S ของแมคคินเซย์ The McKinsey’s 7-S Framework Strategy กลยุทธ์ Structure โครงสร้าง Systems ระบบ Style รูปแบบ (style) การบริหาร Staff การคัดสรรบุคลากร Shared Value คุณค่าร่วม Skills ทักษะ
The McKinsey 7-S Framework Structure Strategy Systems SHARED VALUES Skills Style Staff
ความล้มเหลวที่มักจะเกิด แผนดำเนินกลยุทธ์ที่ยึดติดกิจกรรม (วิธีการ) เป็นศูนย์กลาง ได้แก่ มุ่งเน้นที่วิธีการที่จะเปลี่ยนแปลงมากกว่าความเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ 2) วัดความสามารถของการปรับปรุงจากผลสำเร็จของแผนดำเนินการ มากกว่าความพึงพอใจของลูกค้า 3) พึงพอใจความสำเร็จของแผนดำเนินการมากกว่าผลสำเร็จโดยรวมของบริษัท
การเปลี่ยนแปลงองค์กรมี 2 ระดับ ได้แก่ ระดับ Evolutionary การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นทีละเล็กทีละน้อย เป็นการปรับตัวตามธรรมชาติ เช่น การปรับปรุงงานประจำวันที่เกิดขึ้น ระดับ Revolutionary เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบสร้างขึ้นใหม่ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดผลกระทบกว้างขวางตลอดทั้งองค์กร
Paradigm หมายถึง วิธีคิด (ความฉลาด) หรือโลกทัศน์ เกี่ยวกับความเป็นไป ของสิ่งต่างๆบนโลก (เกิดอย่างนี้แล้วนี้ แล้วต่อไปจะเกิดอย่างนั้น) ตัวอย่างการเปลี่ยน paradigm ที่เคยเกิด ได้แก่ เปลี่ยนจากจากงานมือเป็นงานอุตสาหกรรม เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจในท้องถิ่นเป็นระบบเศรษฐกิจโลก เปลี่ยนจากสินค้าและการผลิต เป็นการบริการและสารสนเทศ
องค์กรจะต้องสามารถเปลี่ยนแปลงตัวเอง (dynamic) ได้ดีพอ ที่จะรองรับการเปลี่ยน paradigm ใหม่ๆ แต่ก็จะต้องมั่นคง (stable) ในระยะเวลายาวนานพอที่จะทำให้เกิดภาวะสมดุล พึงระวัง “ความสำเร็จ” ที่อาจจะทำให้องค์กรติดยึด และปรับเปลี่ยนตัวเองได้ยาก (Success Trap)
รูปแบบการเปลี่ยนแปลง 3 รูปแบบ ยึดกิจกรรมเป็นศูนย์กลาง (Activity Centered) : มุ่งสิ่งนำเข้า (inputs) 2) วิธีการ Strategic Planning (/Programming) : มุ่งผลที่ออกมา (outcomes) 3) การเรียนรู้ขององค์การ (Organizational Learning) : มุ่งความสัมพันธ์ของทั้งสิ่งนำเข้าและผลที่ออกมา
การดำเนินกลยุทธ์ 2 วิธี 1) วิธี Strategic Planning / Programming 2) วิธี Organizational Learning
1) วิธีการ Strategic Planning ใช้ได้ดีกับสถานการณ์ที่เรียบง่ายกว่า มีความมั่นคง สามารถใช้วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ช่วยพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้แม่นยำ เหมาะกับการเปลี่ยนแปลงแบบ evolutionary วิธีการ Strategic Planning เป็นการเปลี่ยนแปลงโดยการวางแผน ตามรายละเอียดและระยะเวลา โดยจะมีการจัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องในแต่ระดับของแผนและโครงการ เรียกว่า ระบบ PPBS (Planning, Programming, Budgeting System)
ข้อจำกัด : เหมาะสมกับบางสภาวะที่มั่นคง (stable) เรียบง่าย (simple) ภาวะอิ่มตัว (mature) ใช้เงินลงทุนมากในเรื่องเครื่องจักร ไม่ยืดหยุ่นที่จะเปลี่ยนแปลง (inflexible) การปฏิบัติงานต่างๆ ผูกติดเกี่ยวข้องกันมาก (Tightly Coupled Operations) กรณีรถบรรทุกอิสระ VS เครือข่ายรถบรรทุกมีศูนย์กลาง หรือ ถูกควบคุมจากภายนอก เช่นสำนักงานใหญ่
2) วิธีการ Organizational Learning ต้องการภาวะผู้นำที่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งแบบ revolutionary และการเปลี่ยนแปลงแบบ evolutionary
การลดความจำเป็นขององค์กรแบบ Mechanistic Organization การเปลี่ยนแปลงจากภายนอก : คู่แข่งที่พัฒนาตัวเอง การเปลี่ยนแปลงจากภายใน : การให้การศึกษาพนักงาน และเทคโนโลยี Organic Organization การแสดงออกขององค์กร เสมือนกับเป็นสิ่งมีชีวิตหรือประกอบด้วยสิ่งมีชีวิต หมายเหตุ ปัญหาการวางแผน (Strategic Planning) ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ระหว่างแผนดำเนินการไปแล้ว และ ความลำบากในการสั่งการและควบคุม
องค์ประกอบหลักของการเรียนรู้ขององค์การ Discovery Action