ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ระบบการบริหารการตลาด
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ผู้สอน อาจารย์จุฬาวลี มณีเลิศ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
การเงิน.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
Introduction to Business Information System MGT 3202
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี Research Methods in Accounting เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ สมบูรณ์ สาระพัด คณะวิทยาการจัดการ 1-2 : 19/21 26/28 ส.ค. 57

วิชาพื้นฐาน : 03757122 Business Statistics 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันพฤหัสบดี เวลา 8.30 - 11.30 น. ห้อง 10209 หมู่ 850 วันอังคาร เวลา 13.00 - 16.30 น. ห้อง 10209 วิชาพื้นฐาน : 03757122 Business Statistics นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์ เวลา 14.00-16.00 น. - วันพุธ/วันพฤหัสบดี/วันอาทิตย์ เวลา 14.00-17.00 น. วันหรือเวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : http://www.ms.src.ku.ac.th : E-mail fmstss@src.ku.ac.th : Tel. 08-0663-3707

วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท ความสำคัญของการวิจัยและแนวทาง การทำวิจัย รวมทั้งการใช้ประโยชน์งานวิจัยในการดำเนินงานทางธุรกิจ และการบัญชีบริหาร 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงหลักการ ระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอนและกระบวน การดำเนินงานวิจัยที่ถูกต้องตั้งแต่การกำหนดประเด็นปัญหาจนถึง การเขียนรายงานและเสนอผลงานการวิจัยทางธุรกิจและการบัญชีบริหาร 3. เพื่อให้นิสิตมีทักษะความชำนาญ ความสามารถเชิงการวิเคราะห์และการ ปฏิบัติทางการวิจัยทุกขั้นตอนตามหลักวิชาการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้สถิติ เพื่อการวิจัย โปรแกรมสำเร็จรูปและนำงานวิจัยไปใช้ในการจัดการธุรกิจและ การบัญชีบริหาร

คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : หลักและระเบียบวิธีวิจัย การกำหนดปัญหาการวิจัยด้านการบัญชีบริหาร ตลอดจนการนำเสนอและรายงานการวิจัย Research principles and methods. Defining research problem of managerial accounting including research proposing and presenting.

วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : - การบรรยาย ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การฝึกปฏิบัติการ - การค้นคว้าผลงานวิจัย การรวบรวมผล การวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม - การจัดทำโครงการวิจัย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลและนำเสนอ โดยที่มีงานค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมความรู้ และการฝึกปฏิบัติการตาม การมอบหมายให้ค้นคว้าจัดทำการวิจัยและรายงานผลการวิจัยด้วยตนเอง

1. เอกสารประกอบการสอน อุปกรณ์สื่อการสอน : 2. ตำราและหนังสือ 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting อุปกรณ์สื่อการสอน : 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ตำราและหนังสือ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย LCD และเครื่องฉายวัตถุ 3 มิติ 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ฝึกปฏิบัติการ โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และเครื่องพิมพ์ 5. แบบฝึกหัด คู่มือการลงรหัส กระดาษลงรหัสและสื่อบันทึกข้อมูล

การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน โดยการเข้าร่วม ร้อยละ 10 รับฟังคำบรรยายอย่างสม่ำเสมอและอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 15 3. การทำรายงานการวิจัย ร้อยละ 35 4. การสอบกลางภาค ร้อยละ 20 5. การสอบปลายภาค ร้อยละ 20 หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงจะต้องตกลงร่วมกันระหว่างนิสิตและผู้สอน

การประเมินผลการเรียน : 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting การประเมินผลการเรียน : สูงกว่า 79.9 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 75.0 - 79.9 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 70.0 - 74.9 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 65.0 - 69.9 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 60.0 - 64.9 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 55.0 - 59.9 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 50.0 - 54.9 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า 50.0 คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0

1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 03760491 ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี 3 หน่วยกิต Research Methods in Accounting ข้อกำหนดในการเรียน : 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 2. นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 3. นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนในขณะสอนอันจะมีผลทำให้การเรียน การสอนขาดคุณภาพ 4. นิสิตต้องเข้าร่วมการฝึกปฏิบัติการและการจัดทำรายงานการวิจัยกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ 5. นิสิตเข้าเรียนสายหรือลากิจ 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง

เหตุผลการวิจัยธุรกิจ การวิจัยทำให้เกิดความรู้และความชำนาญที่ต้องการสำหรับการ ตัดสินใจที่รวดเร็วภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ถูกกำหนด : 1. ปัจจัยในการพิจารณาสภาพแวดล้อมและตัดสินใจดำเนินงาน ทางธุรกิจขององค์กรต่างๆ มีปริมาณมากขึ้น 2. การแข่งขันของธุรกิจมีมาก และรุนแรงขึ้นทั้งระดับภายใน ประเทศและระดับโลก องค์กรจำเป็นต้องปรับตัว 3. องค์ความรู้ต่างๆ ทางธุรกิจเจริญก้าวหน้ามากขึ้น : ระดับ คุณภาพทฤษฎีและแบบจำลอง 4. สารสนเทศต่างๆ มีอยู่มากมายบนเครือข่ายโลก (World Wide Web, WWW)

เหตุผลการวิจัยธุรกิจ 5. องค์กรต่างๆ นิยมทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อหากฎเกณฑ์ การเรียนรู้และหาความรู้ที่ มีอยู่ในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในองค์กร (Internal Databases) 6. ความก้าวหน้าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้ภาคธุรกิจสร้าง คลังข้อมูล (Data Warehousing) 7. บุคลากร พนักงาน/เจ้าหน้าที่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้าและสาธารณชน ทั่วไปสามารถแสวงหาสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 8. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยการคำนวณได้รวดเร็วขึ้น ในการแก้ไขปัญหาองค์กร 9. จำนวนและขีดความสามารถเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัย เพิ่มขึ้น เช่น โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบ สารสนเทศและการพัฒนาเทคนิค

เหตุผลการวิจัยธุรกิจ 10. พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตาม สถานการณ์และความต้องการ 11. ความต้องการลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมที่มีความ ซับซ้อน ขึ้นและทรัพยากรมีจำกัด แต่ความต้องการบริโภคหรือใช้ บริการมากขึ้น 12. ภาคธุรกิจมีการพัฒนาองค์กรอย่างมาก และเกิดความทันสมัย ประกอบกับภาวะโลกาภิวัตน์ทำให้สามารถเชื่อมโยงของภาคการผลิต การค้า และพาณิชยกรรมทั่วทุกพื้นที่และทั่วโลกใกล้ชิดกันมากขึ้น

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร การแก้ไขปัญหาทางการจัดการที่เกิดขึ้น โดยนักบริหารนักบริหาร การเงิน-บัญชี จะเสนอข้อมูลหรือต้องตัดสินใจเกี่ยวกับ: - การตัดสินใจลงทุน (Investment Decision) - การตัดสินใจแสวงหาเงินทุน (Financial Decision) - การตัดสินใจการจ่ายเงินปันผล (Dividend Decision) การวางแผนเพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการบรรลุตาม เป้าหมายองค์กร 3. การให้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจขององค์กร 4. การควบคุม และตรวจสอบระบบการเงิน-บัญชีให้มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างถูกต้อง สร้างความต้องการเสนอให้กับลูกค้า ผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการ แทนที่จะให้ลูกค้าเรียกร้องก่อน

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือ แผนงาน ที่กำลังพัฒนา การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร ข้อมูลที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทางเลือก ที่เกิดขึ้น - Primary Data - Secondary Data ทางเลือก ที่เลือก

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร สภาพแวดล้อม แนวทางและ ทางเลือกทาง การตลาด แนวทางหรือ ทางเลือก ที่ดีที่สุด ปัญหาและ เหตุการณ์ ทางการตลาด ข้อมูล ความต้องการ ของผู้บริโภค ความพอใจ แผนการทาง การตลาด

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร สร้างความต้องการ ให้กับลูกค้า 4 Ps Product Price Place Promotion การตอบสนอง ความต้องการ ของผู้บริโภค ให้ได้รับความ พึงพอใจสูงสุด การตลาด พฤติกรรม ลูกค้า

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร คุณสมบัติของข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน มีความเกี่ยวข้อง (Relevance) มีคุณภาพ (Quality) มีความทันสมัย (Timeless) มีความสมบูรณ์ (Completeness)

ประโยชน์การวางแผนทางธุรกิจ 1. รับรู้แนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2. ง่ายต่อการควบคุมและประเมินผล 3. สามารถกำหนดกิจกรรมทางธุรกิจช่วงเวลาต่างๆ อย่างเหมาะสม 4. สามารถคาดการณ์หรือพยากรณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าในอนาคต 5. ดำเนินการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพ

คุณค่าของการมีทักษะการวิจัย เพื่อเป็นการรวบรวมสารสนเทศต่างๆ ก่อนลงมือในการปฏิบัติงาน ซึ่ง สามารถป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อสามารถใช้ในการศึกษาวิจัยและแสวงหาความรู้ระดับสูงที่มีความลึกซึ้ง ต่อไป เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจในการออกแบบวิจัย ขั้นตอนและกระบวน การวิจัย เพื่อสามารถประเมินและแก้ปัญหาทางการบริหารในองค์กรอย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อสร้างอาชีพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการวิจัยทางการตลาดและธุรกิจ หรือการวิจัยด้านต่างๆ

ความสำคัญของการวิจัยกับการบัญชี ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (6 กลุ่มตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการบัญชี พ.ศ. 2547) มีภาระหน้าที่ตามบทบาทที่ได้รับมอบหมาย ในทุกหน่วยงานจะต้องมีผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีอย่างน้อยหนึ่งด้านเพื่อทำหน้าที่ขับเคลื่อนการบริหารจัดการด้านการจัดทำงบการเงินเพื่อใช้ในการบริหารงานรวมทั้งนำเสนองบการเงินต่อบุคคลภายนอก งานบัญชีจึงเป็นเสมือนจุดศูนย์กลางของทุกหน้าที่งานเพราะจำเป็นต้องใช้ข้อมูลจากทุกหน่วยงานในองค์การ สารสนเทศที่ได้จากระบบงานด้านบัญชีใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจเพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน ผลลัพธ์ของการตัดสินใจที่ดีส่วนหนึ่งจึงเป็นผลมาจากการมีสารสนเทศทางการบัญชีที่รวดเร็ว ถูกต้อง น่าเชื่อถือ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ

ความสำคัญของการวิจัยกับการบัญชี คุณภาพของสารสนเทศด้านบัญชีการเงินและบัญชีบริหารเป็นผลมาจากทั้งปัจจัยภายในเช่น ความสามารถของกิจการในการบริหารจัดการ ทั้งทางด้านงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ บุคลากร วัฒนธรรมองค์การ ตลอดจนปัจจัยภายนอกเช่น ความซับซ้อนของธุรกรรมต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เป็นต้น ในทางปฏิบัติ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีกลุ่มต่างๆ ย่อมเผชิญกับปัญหาต่างๆ ทำให้จำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า อย่างเป็นระบบ หรือที่เรียกว่าการวิจัย เพื่อเป็นข้อสนเทศที่สำคัญในการพัฒนาวิชาชีพให้เจริญก้าวหน้า เป็นผลดีต่อตนเอง องค์การ และสังคมโดยรวม

ความสำคัญของการวิจัยกับการบัญชี การวิจัยเป็นกระบวนการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามโจทย์การวิจัยและวัตถุประสงค์รวมถึงสมมติฐานการวิจัยที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ โดยใช้กระบวนการที่เป็นวิทยาศาสตร์ รวมทั้งกระบวนการที่เรียกว่าศิลป์เพื่อค้นหาข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ น้ำหนักการให้ความสำคัญของกระบวนการทั้งสองขึ้นอยู่กับการออกแบบงานวิจัย การวิจัยทางการบัญชีทำให้ได้ข้อสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ อาทิ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีโดยตรงใช้ในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ผู้กำหนดนโยบายเพื่อกำกับดูแลงานของผู้ประกอบวิชาชีพ ใช้ในการพัฒนามาตรฐานการรายงานทางการเงิน หน่วยงานหรือบุคคลที่ใช้ข้อมูลใช้เป็นแนวทางในการเลือกใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ สถาบันการศึกษาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรเก่าหรือพัฒนาหลักสูตรใหม่ให้ทันกระแสของสังคมโลกที่พลวัตร

การใช้ประโยชน์งานวิจัยในการดำเนินงาน ทางธุรกิจและการบัญชีบริหาร ผลการวิจัยทางด้านการบัญชีบริหารทำให้เกิดประโยชน์ความก้าวหน้าต่อวงวิชาการและเป็นข้อสนเทศแก่หน่วยงานและผู้ประกอบวิชาชีพด้านการบัญชีบริหารโดยตรง เช่น งานวิจัยเกี่ยวกับการลดต้นทุน ทำให้เราทราบว่าเทคนิคการลดต้นทุนใดมีความสำคัญที่สุด เทคนิคการลดต้นทุนที่ดีที่สุดนอกจากทำให้ต้นทุนลดลงแล้ว ต้องไม่มีผลเสียหายต่อคุณภาพของสินค้าหรือบริการและทำให้กำไรเพิ่มขึ้น งานวิจัยเกี่ยวกับตัวผลักดันต้นทุนในระบบต้นทุนกิจกรรมทำให้กิจการทราบว่าอะไรเป็นสาเหตุของการเกิดต้นทุน เช่น จำนวนครั้งในการเคลื่อนย้ายสินค้าทำให้ต้นทุนแรงงานเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นกิจการอาจลดการเคลื่อนย้ายโดยใช้สายพานแทนการใช้คน เป็นต้น

การใช้ประโยชน์งานวิจัยในการดำเนินงาน ทางธุรกิจและการบัญชีบริหาร 3. งานวิจัยเกี่ยวกับการวัดผลการปฏิบัติงานเช่น Balanced Scorecard ทำให้เราทราบว่าตัวชี้วัดผลการดำเนินงานใดเป็นสาเหตุ ตัวชี้วัดผล การดำเนินงานใดเป็นผลลัพธ์ ส่งผลให้กิจการนำข้อมูลไปออกแบบ ระบบวัดผลการปฏิบัติงานเพื่อทำให้ผลงานแต่ละด้านสอดคล้องกัน 4. งานวิจัยเกี่ยวกับงบประมาณทำให้ทราบว่าคุณลักษณะงบประมาณที่ดี มีอะไรบ้าง เช่น ระบบงบประมาณที่ดีจะต้องเปิดโอกาสให้บุคลากรมี ส่วนร่วมในการวางแผน กำหนดเป้าหมายร่วมกัน จะต้องกำหนด เป้าหมายให้ชัดเจน ไม่ยากหรือง่ายเกินไป ต้องนำเป้าหมายมาวัดผล การปฏิบัติงานในรูปของการวิเคราะห์ผลต่าง มีระบบการให้ข้อมูลป้อน กับแก่ผู้ปฏิบัติงานที่รวดเร็ว เป็นต้น

การใช้ประโยชน์งานวิจัยในการดำเนินงาน ทางธุรกิจและการบัญชีบริหาร 5. งานวิจัยเกี่ยวกับการเลือกเทคนิคทางการบัญชีบริหารทำให้ทราบว่า เทคนิคใดทำให้ผลการดำเนินงานดีขึ้นบ้าง ดังนั้นธุรกิจจะใช้ข้อมูล ดังกล่าวเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบบัญชีบริหารเพื่อให้ผลการ ดำเนินงานในแต่ละด้านดีขึ้น 6. งานวิจัยด้านบัญชีบริหารที่นำมิติด้านวัฒนธรรมมาวิเคราะห์ร่วมด้วย ทำให้กิจการออกแบบเครื่องมือทางการบัญชีบริหารให้สอดคล้องกับ วัฒนธรรมต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น เช่น กิจการชาวญี่ปุ่นเป็น สังคมที่เคารพผู้อาวุโส ไม่นิยมการเผชิญหน้า ไม่นิยมการแสดง ความเห็นต่อหน้าผู้บังคับบัญชา การกำหนดเป้าหมายในงบประมาณ จึงเป็นแบบ Top-down มากกว่า ในทางตรงข้ามระบบของอเมริกันจะ นิยมแสดงความเห็น ต้องการการมีส่วนร่วมมากเนื่องจากวัฒนธรรม ของคนกลุ่มนี้เป็นคนที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง

การใช้ประโยชน์งานวิจัยในการดำเนินงาน ทางธุรกิจและการบัญชีบริหาร 7. ผลงานวิจัยด้านบัญชีสามารถนำมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการ เรียนการสอนให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของสังคม เช่น งานวิจัยเกี่ยวกับคุณลักษณะของนักบัญชีบริหารที่สอดคล้องกับ ความต้องการของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิตสินค้า ผล การวิจัยอาจพบว่า ผู้ประกอบการต้องการให้บัณฑิตบัญชีมีความ สามารถด้านไอทีและด้านภาษามากขึ้น มหาวิทยาลัยอาจเพิ่มการ เรียนการสอนด้านดังกล่าวมากขึ้น เป็นต้น 8. ผลการวิจัยด้านระบบบัญชีทำให้ได้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการ ทำงานของระบบในแง่มุมต่างๆ เช่น ผลการวิจัยเกี่ยวกับระบบบัญชีใน หน่วยงานหนึ่งอาจทำให้ทราบว่าผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจในการ ทำงานน้อยเนื่องจากระบบใช้งานค่อนข้างยาก ดังนั้นผู้ออกแบบระบบ ต้องนำข้อมูลดังกล่าวมาทบทวน ปรับปรุง แก้ไขระบบบัญชีให้ดีขึ้น

การใช้ประโยชน์งานวิจัยในการดำเนินงาน ทางธุรกิจและการบัญชีบริหาร 9. ผลการวิจัยด้านการสอบบัญชีทำให้เราสามารถค้นหาปัจจัยที่ทำให้ การทำงานของผู้สอบบัญชีมีคุณภาพ เช่น ผลการวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่า เพื่อไม่ให้ผู้สอบบัญชีสนิทสนมกับลูกค้ามากเกินไป ควรเปลี่ยนผู้สอบ บัญชีทุกห้าปี ข้อเสนอนี้ทำให้ ก.ล.ต. เมืองไทยต้องแก้ไขกฎหมายให้ เป็นไปตามนี้ 10. งานวิจัยด้านการสอบบัญชีเกี่ยวกับหน้ารายงานของผู้สอบบัญชี ทำให้พยากรณ์แนวโน้มของการอออกรายงานของผู้สอบแต่ละ ประเภทว่าขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง ทำให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ข้อมูล 11. ผลการวิจัยเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีทำให้ทราบว่ามาตรฐานต่างๆ ที่กำหนดมานั้นมีประโยชน์หรือไม่ เช่น งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าการ เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกำไรตามส่วนงานมีผลกระทบทางบวกต่อ ผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุน ดังนั้นแสดงว่าการเปิดเผยข้อมูลนี้มี ประโยชน์ต่อผู้ใช้ข้อมูลในงบการเงิน เป็นต้น