ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพ หน่วยบริการสุขภาพของ อปท.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
อนาคตระบบประกันสุขภาพ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
แผนกำลังคน นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (ทรงคุณวุฒิ)
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
Research Mapping.
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สป./กรม สปสช. สสข.*(New) กสธ.ส่วนกลาง เครือข่ายบริการ คปสข. National Health Service Delivery Board สป./กรม สปสช. National Health Authority : Strategic.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Health System Reform.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 1 ปี 2557 จังหวัดเลย
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพ หน่วยบริการสุขภาพของ อปท. นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 4 กรกฎาคม 2556

แนวโน้มการบริหารกองทุนประกันสุขภาพ ของประเทศไทย

สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการ

ท้องถิ่นกับ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแก่ กลุ่มเฉพาะ อปท. แรงงานอพยพ การเป็น National Clearing House รับข้อมูลเพื่อประมวลผลการจ่ายเงินชดเชยจะ ส่งข้อมูลให้กับกองทุนต่างๆ เพื่อให้กองทุน ต่างๆ จ่ายเงินให้หน่วยบริการตามที่ได้ตกลง กัน การศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสวัสดิการด้านสุขภาพของ ผู้สูงอายุ (Long Term Care) Financing Health care package: health promotion for quality aging

การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ 1. จำนวนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโรค หรือปัญหาสุขภาพ 2. ความรุนแรงของโรคหรือปัญหา สุขภาพ 3. ประสิทธิผลของเทคโนโลยีด้าน สุขภาพ 4. ความแตกต่างในทางปฏิบัติ 5. ผลกระทบทางเศรษฐกิจของ ครัวเรือน 6. ความเป็นธรรมและประเด็นทางสังคม และจริยธรรม สถานบริการ สาธารณสุข ที่ถ่ายโอนพัฒนา ระบบบริการ อย่างไร ?? เพื่อตอบสนอง ประชาชน ผู้รับบริการ

อนาคตการสร้างหลักประกันสุขภาพ

การบูรณาการ 3 ระบบประกันสุขภาพของประเทศ ดำเนินการแล้ว 1.ฉุกเฉิน 3 กองทุน 2.การรักษาไต เอดส์ มาตรฐาน เดียว รอการดาเนินการ 1.ระบบบริหารมะเร็งมาตรฐานเดียว 2.ระบบบริการผู้สูงอายุ 3.ระบบบริการผู้ป่วยระยะสุดท้าย

จากกราฟ 1.โดยรวมทั้งประเทศ.. ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลต่อรายได้ประชาชาติค่อนข้างคงที่ ทั้ง ก่อนและหลังการมีระบบประกันสุขภาพ 2.กองทุนทั้ง 3 รับภาระมากขึ้นจากเฉลี่ย 52% เป็น 66% และเมื่อมีระบบประกันสุขภาพ ทำให้ ประชาชนและเอกชนรับภาระน้อยลง 12% (จาก 48% เหลือ 34% โดยเฉลี่ย 2002-2010 และ เหลือ 25% ในปี 2010) 3.ระบบสาธารณสุขพื้นฐาน (ก.สาธารณสุข และ ประกันสุขภาพ) เพิ่มสัดส่วนขึ้นโดยเฉลี่ย 7% (31% เป็น 38%) แลกมาด้วยการที่คนไทยทุกคนเข้าระบบประกันสุขภาพได้ 4.ค่าใช้จ่ายของราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มสัดส่วนขึ้นโดยเฉลี่ย 8% (จาก 16% เป็น 24%) โดยในปี 2010 มีสัดส่วน 27% 5.ประกันสังคม (จ่ายโดยไตรภาคี) เพิ่มบทบาทขึ้น 3 % (จาก 4% เป็น 7%) โดยในปี 2010 รับผิดชอบ 8% ของรายจ่ายรักษาพยาบาลทั้งประเทศ 17% 27% 8% 25% 22%

จากกราฟ 1.ในขณะที่ GDP มูลค่าตลาด ขยายตัวประมาณ 6.5% (4.5% ขยายตัวจริง 2 % อัตราเงินเฟ้อ) แต่หากปล่อยให้เหมือน 5 ปีที่ผ่านมาค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาล อาจขยายตัวปีละ 9% และจะมีสัดส่วน 6.6% ของ GDP ในอีก 8 ปีข้างหน้า (2020) 2.ระบบสาธารณะสุขภายใต้ระบบประกันสุขภาพเพิ่มสัดส่วนขึ้น 4% (38% เป็น 42%) 3.ราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มสัดส่วนขึ้น 17% (จาก 24% เป็น 41%) 4.ประกันสังคม (จ่ายร่วมในไตรภาคี) ลดบทบาทลง 1 % (จาก 7% เป็น 6%)

การเปลี่ยนแปลงของกระทรวงสาธารณสุข

Executives Scenario ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค

บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม National Health Authority Envisioning, Leading, Directing, Strategic Formulation, Risk Mitigation, Integration, Good Governance National Information Center, National Claim Center(สปสช.) Quality Improvement, Efficiency Improvement, Logistic Support, Reengineering, Reprocess, Monitoring Workforce Provider Regulator Purchaser HRM Professional Non-Professional Capacity Building Motivation Innovation R/D Prevention Promotion Treatment Rehabilitation UC/Non UC Quality Improvement Accessibility Efficiency Effectiveness Excellency Innovation R/D Strategy to Operation Planning GuideLine Co-ordination Prioratization Audit, Monitor Evaluation Measurement Technical Assessment Technical Support Innovation, R/D Standardization Definition Benefit Package Financing Purchasing Payment Mechanism Cost Effective Analysis Innovation R/D Health Communication Participation บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม Healthy, Quality of life ,CRM, CSR, Health Literacy, Civil Society Selective Strengthening

Central Level บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม National Health Authority สธ. สปสช. สช. สสส. สวรส. สภาวิชาชีพ อื่น ๆ National Information Center, National Claim Center(สปสช.) รองปลัดกระทรวง, ผู้ตรวจราชการ. สาธารณสุขนิเทศก์, ผู้ทรงคุณวุฒิ Workforce Provider Regulator Purchaser สภาวิชาชีพ สบช. สำนักมาตรฐานการพยาบาล กลุ่มบริหารบุคคล สนย. New Structure สบรส., โครงการเฉพาะ, สบฉ. กลุ่มประกัน, สนย. New Structure กรมอนามัย กรมแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมแพทย์แผนไทย กรมวิทย์ สรป. IHPP กลุ่มกฎหมาย สนย. HITAP กรมวิชาการทั้งหมด อย. สารนิเทศ IT New Structure สปสช. สสส. สพฉ. Health Communication (Health Channel) Participation กรมสบส. บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม

Regional Level Regulator ผู้ตรวจราชการ Provider คปสข. Purchaser อปสข.

National Information Center, National Claim Center,(สปสช.) Provincial Level National Information Center, National Claim Center,(สปสช.) ประกันสังคม จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด Area Health Service Authority Workforce Provider Regulator Purchaser โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต., สอ. สสอ. โรงเรียนแพทย์ โรงพยาบาลรัฐอื่น โรงพยาบาลเอกชน

National Health Authority Function 1. ระบบบริการสุขภาพ(Health Service) 2. ระบบส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion) 3. ระบบควบคุมและป้องกันโรค(Disease Prevention & Control) 4. ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ(Health Consumer Protection)

บทบาท National Health Authority ที่ต้องพัฒนา การกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศ บนข้อมูลและฐานความรู้ การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ การกำหนดรับรองมาตรฐานบริการต่างๆ การพัฒนาระบบกลไกเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือ พัฒนาและดูแลสุขภาพประชาชน การพัฒนางานสุขภาพโลกและความร่วมมือ ระหว่างประเทศ การกำกับดูแล ติดตามและประเมินผลของภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้าน สุขภาพของประเทศ การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียวมี คุณภาพใช้งานได้ การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคนด้าน สุขภาพ เขตสุขภาพ strategy Knowledge Management Tech. Assessment Service Standard Surveillance Law&Regulate Global & international Health M&E Financing Information HR Regional Health

จุดมุ่งหมายสุดท้ายของระบบบริการที่จับต้องได้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ใช้ตัวชี้วัด การพัฒนาสุขภาพ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ จำนวน 66 ตัวชี้วัด สถานบริการที่ถ่ายโอนยังต้องดำเนินการ สอดคล้องกับการพัฒนาสุขภาพตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ และการแก้ปัญหา สุขภาพเฉพาะพื้นที่ การพัฒนาสุขภาพ ยังต้องดำเนินการให้ได้ มาตรฐาน

สวัสดี