งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนกำลังคน นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (ทรงคุณวุฒิ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนกำลังคน นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (ทรงคุณวุฒิ)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนกำลังคน นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (ทรงคุณวุฒิ)
นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (ทรงคุณวุฒิ) เขตพื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 2

2 วิสัยทัศน์ ในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคน
จะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อให้เกิดผลิตภาพในการสร้างเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งทางตรงและทางอ้อมให้เติบโตขึ้นอย่างยั่งยืน

3 ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล
พันธกิจของการทำงาน พัฒนาระบบสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ คุณภาพ ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและรักษาโรค รวมทั้งฟื้นฟูสภาพ เป็นระบบที่มีความมั่นคงสามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศ มีการทำงานประสานกันแบบบูรณาการทั้งภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และสนองต่อนโยบายของรัฐบาล พัฒนาระบบการทำงานที่ขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายระหว่างผู้ทำงานร่วมกัน ตลอดจนเกิดคุณค่าต่อยอดซึ่งกันและกัน ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล ระบบข้อมูลสุขภาพ บุคลากร สุขภาพ ประชาชน ระบบบริการสุขภาพ การเงินการคลัง สุขภาพ เวชภัณฑ์ วัคซีน เทคโนโลยี

4 การจัดโครงสร้างส่วนกลางเพื่อรองรับ
พัฒนาการแพทย์ พัฒนาการสาธารณสุข อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาพดี Productivity/Life Span (Improved Health) สร้างนำซ่อม ป้องกันภัยสุขภาพ (Social, Financial Risk) ความรู้ เข้าใจสุขภาพ (Health Literacy) จัดบริการรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ (Responsiveness, Efficiency) การเข้าถึง, คุณภาพ, ต้นทุน ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล ระบบข้อมูลสุขภาพ บุคลากร สุขภาพ ประชาชน สนับสนุนบริการสุขภาพ อำนวยการและปฏิบัติการ ระบบบริการสุขภาพ การเงินการคลัง สุขภาพ เวชภัณฑ์ วัคซีน เทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลง ประชากร เทคโนโลยีเปลี่ยน ปัญหา ความต้องการเปลี่ยน

5 ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล National Health Authority
กลยุทธในการทำงาน การปรับโครงสร้างของหน่วยงานภายในกระทรวงสาธารณสุขในเรื่องระบบการทำงานและกลยุทธการทำงาน โดยแยกส่วนของผู้ให้บริการ (Service provider) ออกจากผู้กำหนดกฎเกณฑ์ (National Health Authority) ให้ชัดเจน ใช้ตัวชี้วัดซึ่งเป็นเป้าหมายในการทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วน โดยตัวชี้วัดและกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนทั้งตัวชี้วัดทั่วไปและตัวชี้วัดเฉพาะเรื่อง มีการประเมินที่เป็นรูปธรรมเป็น Evidence Based และ เป็นที่ยอมรับร่วมกัน การปรับโครงสร้างทางด้านการเงินการคลัง เพื่อสร้างความสมดุลของรายได้และรายจ่ายของการเงินการคลังระยะยาว ทั้งระดับมหภาค ภูมิภาค และระดับหน่วยบริการที่เหมาะสมกับหน่วยบริการแต่ละแห่ง ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล National Health Authority ระบบบริการสุขภาพ 12 เขตบริการ บูรณาการการเงิน การเงินการคลัง สุขภาพ National Claim Center

6 ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล National Health Information
กลยุทธในการทำงาน บุคลากร สุขภาพ พัฒนากำลังคนภาครัฐด้านสาธารณสุขให้มีสภาพงาน และการจ้างงานที่ดีขึ้น ตลอดจนจูงใจให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพและประสิทธิผล เพื่อสร้างความมั่นคง และขวัญกำลังใจมีความสุขในการทำงาน อีกทั้งให้เกิดความรู้ความสามารถในการทำงานโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น เสริมสร้างธรรมาภิบาลรวมทั้งความโปร่งใสในระบบงานโดยการจัดให้มีระบบข้อมูลเพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ให้ได้รับรู้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบ และมีการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ และประสิทธิผล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการทำงานพัฒนาระบบข้อมูลระดับชาติ (National Health Information) P4P เวชภัณฑ์ วัคซีน เทคโนโลยี คลังยารวม องค์การเภสัช ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล องค์การเภสัช ระบบข้อมูลสุขภาพ National Health Information

7 National Health Information ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล
กลยุทธในการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพและปรับปรุงคุณภาพของระบบหลักประกันสุขภาพ 30 บาทรักษาทุกโรค รวมถึงการบูรณาการสิทธิของผู้ป่วยที่พึงได้รับจากระบบประกันสุขภาพต่างๆ ให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้นทัดเทียมกัน ปรับปรุงการทำงานต่างๆ (Reprocess) ของทุกหน่วยงาน ให้ไวต่อการตอบสนองความต้องการของประชาชน ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพทั้งระบบ ให้สอดคล้องกับทิศทางการปฏิรูป และรองรับบริบทของสังคมไทย ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกในอนาคต ระบบบริการสุขภาพ National Claim Center ระบบข้อมูลสุขภาพ National Health Information การเงินการคลัง สุขภาพ ภาวะผู้นำ การกำกับดูแล

8 PPP, Medical Hub, Medical Mediator
กลยุทธในการทำงาน เสริมสร้างบทบาทของประเทศไทยในเวทีสุขภาพโลก ทั้งระดับภูมิภาคเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Community: AEC, APSC, ASCC) และระดับนานาชาติ เพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีและประโยชน์ร่วมกันทั้งระดับทวิภาคี ภูมิภาค และระดับโลก ทุกหน่วยงานต้องเน้นการทำงานที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน และ ประชาชน สนับสนุนนโยบายการสริมสร้างรายได้สุขภาพของประเทศ ทั้งด้าน ยาสมุนไพรไทย อาหาร สินค้าพื้นเมือง รวมถึงการเป็นศูนย์กลางสุขภาพ โดยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อระบบบริการภาครัฐ Global Health International Health PPP, Medical Hub, Medical Mediator Primary Care

9 Country Strategy, AC นโยบายรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องโดยตรง
เสริมสร้างบทบาทของประเทศไทยในเวทีสุขภาพโลก ทั้งระดับภูมิภาคเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Community: AEC, APSC, ASCC) และระดับนานาชาติ เพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีและประโยชน์ร่วมกันทั้งระดับทวิภาคี ภูมิภาค และระดับโลก สนับสนุนนโยบายการสริมสร้างรายได้สุขภาพของประเทศ ทั้งด้าน ยาสมุนไพรไทย อาหาร สินค้าพื้นเมือง รวมถึงการเป็นศูนย์กลางสุขภาพ โดยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อระบบบริการภาครัฐ การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบ และมีการนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ และประสิทธิผล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการทำงานพัฒนาระบบข้อมูลระดับชาติ (National Health Information)

10 เป้าหมายทางยุทธศาสตร์
ลดผลกระทบ และความเสี่ยงด้านสุขภาพ ต่อประชาชนไทย เพิ่มคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมต่อประชาชนไทย ดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล รัฐมนตรีและกระทรวงสาธารณสุข บูรณาการเป้าหมายให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกระทรวงอื่น ๆ บูรณาการแผนและการดำเนินการของทุกหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุขให้สอดคล้องมีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์

11 เป้าหมายทางยุทธศาสตร์
ความเสี่ยงด้านสุขภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม ดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล บูรณาการเป้าหมาย บูรณาการแผนและการดำเนินการของทุกหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุขให้สอดคล้องมีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ SHOC, Migrant, Border POE Regional UHC WHO RD Candidate FTA International, Global Health Information System

12 Regional Information System
Step 1 Health Service Primary Care and Referral system at the border area: Health Post for Malaria, then Tuberculosis, HIV Secondary and Tertiary Care: Cross Border Referral System Financial Management Health and Medical Service Fund : Multidonor contribution Regional Information System Integrated Regional Information System Regional Claim Center

13 Regional Information System
Step 2 Health Service Extend and Upgrade to Secondary and Tertiary Care Financial Management Health and Medical Service Fund : Multidonor contribution Regional Information System Integrated Regional Information System Regional Claim Center Countries Information

14 Step 3 Regional Universal Health Coverage
Myanmar, Laos PDR, Cambodia, Vietnam?

15 ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข
MOPH Reform 1.กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์กลาง ของประเทศ บนข้อมูลและฐานความรู้ 2.การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และการสื่อสารประชาสัมพันธ์ 3.การประเมินนโยบายและเทคโนโลยี ด้านสุขภาพ 4.การกำหนดมาตรฐานบริการต่างๆ 5.การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวัง โรคและภัยสุขภาพ 6.การพัฒนากลไกด้านกฎหมาย เพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนาและดูแลสุขภาพ ประชาชน HEALTH SERVICES HEALTH PROMOTION สบส. แพทย์ แผนไทย สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค DISEASE CONTROL CONSUMER PROTECTION องค์กรในกำกับ

16 ข้อเสนอพัฒนา(ปฏิรูป)บทบาทกระทรวงสาธารณสุข
MOPH Reform 7.การพัฒนางานสุขภาพโลก และ ความร่วมมือระหว่างประเทศ 8.การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผล ของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน 9.การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลัง ด้านสุขภาพของประเทศ 10.การพัฒนาข้อมูลข่าวสาร ให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ 11.การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคน ด้านสุขภาพ 12.การพัฒนาเขตสุขภาพ HEALTH SERVICES HEALTH PROMOTION สบส. แพทย์ แผนไทย สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค DISEASE CONTROL CONSUMER PROTECTION องค์กรในกำกับ

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26


ดาวน์โหลด ppt แผนกำลังคน นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (ทรงคุณวุฒิ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google