ความท้าทายของการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคในอนาคต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความท้าทายของการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคในอนาคต นายแพทย์ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ปัญหาหลักของระบบสุขภาพ ความเท่าเทียม (Equity) VS ความเหลื่อมล้ำ (Discrepancy) ประกันสุขภาพ 100 % แต่ เข้าถึง+คุณภาพ ? ปัญหาของระบบสุขภาพ เช่น Double Burdens of CD + NCD Demographic structural changes Social Determinants of Health โครงสร้างประชากรและการเคลื่อนย้าย การกระจายอำนาจด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf 3

http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf 4

UN health assembly adopts on Child Injuries and non-communicable diseases of MOSCOW Declaration to UNGA in September 2011

อัตราการสูญเสียปีสุขภาวะใน 3 กลุ่มโรค

อัตราการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลของโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ที่มา รายงานการสาธารณสุขไทย พ.ศ. 2544-2547

ภาระทางสุขภาพ 20 อันดับแรกของประชากรไทย พ.ศ. 2547 ที่มา: คณะทำงานศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง

ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ ที่ทำให้สูญเสียปีสุขภาวะ ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข 9

ระบบบริการสุขภาพของไทย โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10,000-100,000) รพ.สต. (9,750) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน (80,000) SELF CARE ครอบครัว PCU ระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง

Strategy Functional Approach GIS สถานการณ์ระบบการให้บริการด้านสุขภาพ EXPECT Legal issue High Expectation GIS, work smart Improper Infrastructure Old aged population Problems Primary Care Satellite OP Structure Reform Strategy Tertiary Care Centralized IP Human Resource Quality Excellent Center Functional Approach พบส. , ระบบคุณภาพอื่น ๆ Participation EXIST Leadership GIS Referral System Pooled Resources New Management Problems Health Care System

กลุ่มประชากรเป้าหมาย/แนวคิด/มิติสุขภาพ เชื่อมโยง เชิงรุก ชุมชน เข้าถึง องค์รวม ประสาน ต่อเนื่อง ชุมชน สังคม บุคคล ครอบครัว ชุมชน สิ่งแวดล้อม ปัญญา ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู จิต เด็ก สตรี สูงอายุ พิการ/ด้อยโอกาส โรคเรื้อรัง กาย วัยรุ่น/เยาวชน ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

หน่วยงานที่มีภารกิจด้านการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุข สปสช.(งบประมาณ) สช. (นโยบาย) สสส. (งบสนับสนุนกิจกรรม) กระทรวงอื่นๆ (สนับสนุน,ส่งเสริม) NGO (กิจกรรม) องค์กรระหว่างประเทศ (วิชาการบางเรื่อง) อปท. (แผนกิจกรรม,งบประมาณ (กองทุน)

เป้าหมายการดำเนินงาน P&P สร้างสุขภาวะของประชาชน ลดปัญหาค่าใช้จ่ายระยะยาว ใช้กระบวนการ P&P เป็นหัวใจขับเคลื่อน โดยเน้นจัดกิจกรรมเชิงรุก เพื่อให้คนไทย เข้าถึงบริการ และสร้างสุขภาวะเองได้

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการดูแลตนเองของ ประชาชนในชุมชน และท้องถิ่น สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม และกระจายการจัดการ หลักประกันสุขภาพในพื้นที่ โดยท้องถิ่นและชุมชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและ องค์กรภาคีด้านวิชาการ เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์และ การจัดบริการสุขภาพ สร้างคุณค่า การตระหนักรู้ และมีส่วนร่วมในการ พัฒนางานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของ บุคลากรสาธารณสุข

หน่วยงานอื่น เช่น สช, กระทรวง พม., กระทรวง มท.,กระทรวงเกษตร ฯลฯ ระบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค สสส. สปสช. ก.สาธารณสุข หน่วยงานอื่น เช่น สช, กระทรวง พม., กระทรวง มท.,กระทรวงเกษตร ฯลฯ ระดับส่วนกลาง เขต สปสช. เขต สธ. จังหวัด/อ/ต ระดับปฏิบัติ กองทุนชุมชน อปท. องค์กรชุมชน ประชาชน ระดับชุมชน

ช่องว่างในปัจจุบัน ขาดการวิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ ขาดการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่

แนวคิด หลักการ หลักแห่งความรับผิดชอบร่วมกัน “ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ” แนวคิด หลักการ หลักแห่งความรับผิดชอบร่วมกัน “ ร่วมกันคิด ช่วยกันทำ” หลักบูรณาการที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหาสุขภาพพื้นที่ “แผนบูรณาการเชิงรุก” หลักการพัฒนาศักยภาพและสร้างความเข้มแข็ง ของบุคลากร และหน่วยงานในพื้นที่ “การพัฒนาศักยภาพทีมประเมินระดับเขต” หลักการติดตามประเมินผล “การมีส่วนร่วมเรียนรู้ในการประเมินของ ผู้ปฏิบัติงาน”

ความคาดหวังต่อการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค พื้นที่มีกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนงาน ระดับพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหา/ภาวะโรคในระดับพื้นที่ที่เป็น รูปธรรม การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับ พื้นที่ ทั้งการจัดการแผนงบประมาณ กำลังคน และ ข้อมูล ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพ ตนเอง มีระบบการกำกับติดตามและการประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง

วงเงิน P&P ปี 2555 = 15,000 ล้านบาท PP พื้นฐาน หรือ PP expressed demandจ่ายตามกลุ่มอายุ/อาชีพ NPP วงเงิน 1,000 ลบ.หรือ โครงการละ 100-500 ลบ. PP area-ased สำหรับท้องถิ่น จังหวัด ทำงานในส่วน 1 พัฒนาระบบ/ศักยภาพบุคลากร (5%)

สวัสดี