พยัญชนะต้น
พยัญชนะต้น พยัญชนะต้น คือ พยัญชนะที่ทำหน้าที่ประสมกับสระในแต่ละพยางค์ เช่น พ่อ แม่ กิน เขียน ฉัน เสน่ห์ โล่ห์ แพทย์ ศาสตร์ องค์ กราบ กลอน ความ กลับไปหน้าแรก
กลับไปหน้าแรก
พยัญชนะต้นแบ่งออกได้ดังนี้ 1. พยัญชนะต้น 1 ตัว เช่น กา เสื้อ เดิน เรียก เขียว แดง ฉัน เธอ กลับไปหน้าแรก
2. พยัญชนะต้น 2 ตัว แบ่งออกเป็น 2.1 อักษรควบ คือ พยัญชนะ 2 ตัว ควบหรือกล้ำ อยู่ในสระเดียวกัน พยัญชนะตัวที่ 2 มีตัว ร ล ว ตัว ร เมื่อควบกับตัวอื่นบางทีก็ออกเสียง เช่น กราบ ครอบครัว บางทีก็ไม่ออกเสียงเช่น จริง เศร้า แต่ตัว ล ว ต้องออกเสียงเสมอ กลับไปหน้าแรก
อักษรควบแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ก. อักษรควบแท้ คือ อักษรควบที่เกิดจากพยัญชนะ 2 ตัว กล้ำอยู่ในสระเดียวกัน ได้แก่พยัญชนะที่ควบกับตัว ร ล ว เมื่อควบกล้ำแล้วออกเสียงพร้อมกัน เช่น กลับไปหน้าแรก
ก ข ค ต บ กราบ ขรุขระ ครู เตรียม บราซิล กลอง ขลาด คลอง - กวาด ขวาน ตัวอย่างอักษรควบแท้ พยัญชนะ ร เป็นตัวควบ ล เป็นตัวควบ ว เป็นตัวควบ ก ข ค ต บ กราบ ขรุขระ ครู เตรียม บราซิล กลอง ขลาด คลอง - กวาด ขวาน ควาย กลับไปหน้าแรก
ป ผ พ ฟ ปรุง - พระ ฟรอยด์ ปลอม ผล็อย พลอย พยัญชนะ ร เป็นตัวควบ ตัวอย่างอักษรควบแท้ พยัญชนะ ร เป็นตัวควบ ล เป็นตัวควบ ว เป็นตัวควบ ป ผ พ ฟ ปรุง - พระ ฟรอยด์ ปลอม ผล็อย พลอย กลับไปหน้าแรก
จริง ไซร้ ศรัทธา เศร้า สรวง สร้อย เสร็จ ข. อักษรควบไม่แท้ คือพยัญชนะที่ควบกับตัว ร แล้วบางทีก็ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้าตัวเดียว ตัว ร ไม่ออกเสียง หรือบางทีก็ออกเสียงเปลี่ยนเป็นเสียงพยัญชนะตัวอื่น - ร ควบ แล้วออกเสียงเฉพาะตัวหน้าตัวเดียว เช่น จริง ไซร้ ศรัทธา เศร้า สรวง สร้อย เสร็จ กลับไปหน้าแรก
ทราบ ทรง ทรุดโทรม ฉะเชิงเทรา นกอินทรีย์ ทรัพย์ ทราย - ร ควบแล้วออกเสียงเปลี่ยนไปเป็นเสียงพยัญชนะตัวอื่นได้แก่ ร ควบ ท ออกเสียงเป็น ซ เช่น ทราบ ทรง ทรุดโทรม ฉะเชิงเทรา นกอินทรีย์ ทรัพย์ ทราย กลับไปหน้าแรก
2.2 อักษรนำ คือ พยัญชนะ 2 ตัวร่วมอยู่ในสระเดียวกันบางคำก็ออกเสียงร่วมกันสนิท เช่น หงาย หนา หนอน หมา หลอก หรือ ไหว อย่า อยู่ อย่าง อยาก กลับไปหน้าแรก
อักษรนำบางคำก็ออกเสียงคล้ายกับเป็น 2 พยางค์ แต่ประสมกันไม่สนิทกลมกลืนเหมือนอักษรควบแท้จึงฟังดูคล้าย มีเสียง อะ ประสมอยู่ด้วย การออกเสียงอักษรนำ จะออกเสียงพยัญชนะ 2 ตัว กลับไปหน้าแรก
กนก อ่านว่า กนก ไม่ใช่ กะ – หนก ขนม อ่านว่า ขนม ไม่ใช่ ขะ – หนม การออกเสียงอักษรนำ จะออกเสียงพยัญชนะทั้ง 2 ตัวคนละครึ่งเสียง ( ยกเว้นพยัญชนะ ตัว ห กับตัว อ ไม่ต้องออกเสียง ) เช่น กนก อ่านว่า กนก ไม่ใช่ กะ – หนก ขนม อ่านว่า ขนม ไม่ใช่ ขะ – หนม ฉลาด อ่านว่า ฉลาด ไม่ใช่ ฉะ – หลาด ไสว อ่านว่า ไสว ไม่ใช่ สะ – ไหว กลับไปหน้าแรก
อักษรนำ พยัญชนะตัวหน้าจะเป็นอักษรสูง อักษรกลาง หรืออักษรต่ำก็ได้ เช่น อักษรนำ พยัญชนะตัวหน้าจะเป็นอักษรสูง อักษรกลาง หรืออักษรต่ำก็ได้ เช่น อักษรสูง นำ - ขนม ฉลาด ถวาย ผนึก ฝรั่ง สนาม อักษรกลาง นำ - กนก จรด ตลาด ปรอท ปลัด อร่อย อักษรต่ำ นำ - เชลย เชลียง โพยม กลับไปหน้าแรก
ตัว ห จะนำอักษรต่ำเดี่ยว และไม่ต้องออกเสียง “ห” เช่น หงอก หญิง หนอน หนาว หมด หยาบ หรูหรา หลอม ไหว หวาย กลับไปหน้าแรก
ตัว อ นำตัว ย 4 คำ และไม่ต้องออกเสียง “ ย” ตัว อ นำตัว ย 4 คำ และไม่ต้องออกเสียง “ ย” เช่น อย่า อยู่ อย่าง อยาก กลับไปหน้าแรก
นางสาวผ่องศรี บัววัฒนะ นำเสนอโดย นางสาวผ่องศรี บัววัฒนะ อาจารย์ 2 ระดับ 7 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร