ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
**************************************************
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
ผลการสัมมนากลุ่มย่อย
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
Evaluation of Thailand Master Plan
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเขียนโครงการ.
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖ การถอดบทเรียน ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดบริการระบบสุขภาพ : ความร่วมมือของชุมชน อ.เพ็ญ รพ.สต.สร้างแป้น รพ.สต.นาบัว รพ.สต.นาพู่ อ.เมือง รพ.สต.สามพร้าว รพ.สต.หมูม่น

ทิศทางการพัฒนาสุขภาพของ อปท. 4 m การพัฒนา สุขภาพ รัฐ จังหวัด พื้นที่ ประชาชน Good Governance

การระดมความคิดเห็น การพัฒนาการจัดบริการของสถานบริการสาธารณสุข การพัฒนาบุคลากรหลังการถ่ายโอนสถานบริการสาธารณสุข ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (การกระจายอำนาจ : ทิศทางการพัฒนาสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) อปท. นำเสนอแนวคิดการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน มีกระบวนการที่ยืดหยุ่น สามารถเอื้อให้เกิดความมั่นคงและความเข้มแข็งของชุมชน สามารถตอบสนองการดำเนินงานการกระจายอำนาจ ด้านการบริหารจัดการการพัฒนาสุขภาพ เพื่อการแก้ปัญหาด้านการสาธารณสุขในแต่ละพื้นที่ การระดมความคิดเห็น การพัฒนาการจัดบริการของสถานบริการสาธารณสุข

Paradigm Shift การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ คิดนอกกรอบ Lateral Thinking คิดอย่างมีระบบ Systematic Thinking คิดสร้างสรรค์ Creative Thinking

คิดในกรอบกับคิดนอกกรอบ เป็นเรื่องความถูกต้อง เป็นเรื่องความหลากหลาย เคลื่อนไปทิศทางที่มีอยู่เท่านั้น เคลื่อนที่เพื่อสร้างทิศทาง เป็นการวิเคราะห์ เป็นการกระตุ้น เป็นลำดับขั้นตอน สามารถกระโดดข้ามขั้นได้ ทำทุกขั้นตอนให้ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องทำทุกขั้นตอน

คิดอย่างมีระบบ คิดให้เห็นภาพใหญ่ (องค์รวม)ของทั้งหมด คิดให้เห็นภาพย่อยในภาพใหญ่ทั้งหมด วิธีการ กำหนดเป้าประสงค์ให้ชัดเจนก่อน กำหนดวัตถุประสงค์ แยกแยะส่วนย่อย เพื่อนำมาดำเนินการ กำหนดวิธีการ/เครื่องมือดำเนินการ

ทำไม สอ./ อปท. ต้องร่วมมือกัน เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ เกิดความคุ้มค่า ประหยัด ขยายบริการได้หลากหลาย ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น

กิจการใดที่ควรร่วมมือกัน อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ขยายการบริการให้หลากหลาย ความร่วมมือ เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ประหยัดคุ้มค่า เพิ่มมาตรฐานการให้บริหารสูงขึ้น สนองความต้องการประชาชน

ความร่วมมือ รปแบบความร่วมมือ ทำข้อตกลง จัดองค์กรความร่วมมือ เกิดขึ้นได้อย่างไร นโยบายรัฐ ความสมัครใจ การเรียกร้องของประชาชน ข้อจำกัดด้านการให้บริการ รปแบบความร่วมมือ ทำข้อตกลง จัดองค์กรความร่วมมือ ให้ดำเนินการแทน ส่งมอบคืน (ข้อมูล)

ขั้นตอนความร่วมมือ ขั้นตอนที่ ๑ ให้ความรู้ความเข้าใจ ขั้นตอนที่ ๒ ค้นหาความต้องการ/ความจำเป็น ขั้นตอนที่ ๓ ระบุกิจการ/บริการ ขั้นตอนที่ ๔ แสวงหาความร่วมมือ ขั้นตอนที่ ๕ หารือความร่วมมือ ขั้นตอนที่ ๖ ตรวจสอบ ระเบียบ กฎหมาย ขั้นตอนที่ ๗ ประชาสัมพันธ์ ขั้นตอนที่ ๘ จัดทำข้อตกลง ขั้นตอนที่ ๙ ดำเนินงาน ขั้นตอนที่ ๑๐ ติดตาม ประเมินผล

ประโยชน์ที่เกิดขึ้น ประชาชน ชุมชน อปท. รัฐ