ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ นายอำพร กาญจนโพธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 1 ที่มา : ขอบคุณ ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
การจัดการศึกษาพิเศษให้กับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา มีที่มาจากความเชื่อและความเคารพในสิทธิมนุษยชน โอกาสและความเท่าเทียมกันในศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ แม้จะเป็นผู้พิการหรือผู้ยากไร้จะได้รับสิทธิ โอกาสและการวางกรอบปฏิบัติที่เท่าเทียมกันทุกด้าน เมื่อมีข้อจำกัดในการเรียนรู้ จึงควรได้รับการจัดการศึกษาเป็นพิเศษ
การจัดการศึกษาพิเศษ เป็นการจัดการศึกษาที่คำนึงถึงความต้องการจำเป็นและความแตกต่างของแต่ละบุคคล โดยลดข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาเพื่อให้มีโอกาสเท่าเทียมกันในการได้รับการศึกษาโดยไม่เลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากสาเหตุของความพิการ
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กไทยทุกคน ดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข บนพื้นฐานของความเป็นไทยและสากล คนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี ประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ ตามความถนัด ความสนใจ และ ความสามารถของแต่ละบุคคล
ตั้งแต่แรกพบความพิการ สิทธิโอกาส ความเท่าเทียม เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ เจตคติ ของคนทั่วไป การพัฒนา ศักยภาพ คนพิการ การจัดการศึกษา ในรูปแบบที่หลากหลาย การพัฒนาศักยภาพ ตั้งแต่แรกพบความพิการ สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใด ทางการศึกษา ตามกฏกระทรวง
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล แนวทางพัฒนาคนพิการ หลักการ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก บริการ ฯลฯ การบริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม บูรณาการ สหวิทยาการ ประสานการใช้ทรัพยากรเครือข่าย ภูมิปัญญาท้องถิ่น การฟื้นฟูสมรรถภาพโดยชุมชน การเรียนรวม มีเอกภาพบนความหลากหลาย
การพัฒนาศักยภาพเด็กพิเศษ ครู พ่อแม่ หมอ สังเกตพฤติกรรมของลูกอย่างใกล้ชิด ให้ข้อมูลที่เป็นจริงแก่ทีม สหวิทยาการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพลูก วิเคราะห์ผู้เรียน จัดทำ IEPและIIP จัดสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ สนับสนุนสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก จัดการเรียนรู้ตาม IEP ประเมิน วินิจฉัย ให้คำแนะนำโปรแกรมการช่วยเหลือ ปรับสภาพแวดล้อมและให้ความช่วยเหลือตามความต้องการจำเป็น
แนวทางการพัฒนาศักยภาพเด็กพิเศษแบบองค์รวม ศูนย์ฝึกอาชีพ ศูนย์การศึกษาพิเศษ สถานศึกษา การดำเนินชีวิตอิสระ พัฒนาทักษะชีวิต พัฒนาการเรียนรู้ เตรียมความพร้อม 8
การจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน หลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา รูปแบบ กลยุทธ์ เทคนิคการสอน หลักสูตรและคำอธิบายรายวิชา IEP
สิ่งจำเป็นในการพัฒนาผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) การประเมินคัดกรองตามสภาพจริงและหลากหลายเครื่องมือ การมีส่วนร่วมของสหวิชาชีพ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการให้ข้อมูล การกำหนดสื่อสิ่งอำนวยความสะดวกที่ตรงตามความต้องการจำเป็นพิเศษ การยอมรับผลการจัดทำ IEP ของผู้ปกครอง
รูปแบบการจัดทำ IEP ครูประจำชั้น ผู้บริหาร แพทย์,นักวิชาชีพ ผู้ปกครอง ครูประจำวิชา ดร.สมพร หวานเสร็จ ศกศ.9 ขอนแก่น
การจัดการเรียนร่วม การจัดการเรียนร่วม คือ การจัดการศึกษาโดยผ่านกระบวนการที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียนทุกคน ทั้งนักเรียนทั่วไปและนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ โดยการลดอุปสรรคทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มีการตั้งเป้าหมายเพื่อสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิตร่วมกันในโรงเรียน
หลักการ นักเรียนทุกคนต้องได้รับการจัดการศึกษาอย่างเท่าเทียมตามกฎหมาย นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และได้รับประโยชน์จากการศึกษา โรงเรียนต้องปรับเปลี่ยน...ตามความต้องการจำเป็นของนักเรียนมากกว่าให้นักเรียนปรับตามสภาพของโรงเรียน นักเรียนทุกคนเรียนรู้ได้โดยผ่านหลักสูตรที่เหมาะสม
รูปแบบการจัดชั้นเรียน น้อย มาก ชั้นปกติ คำปรึกษา ชั้นปกติ คำปรึกษา สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก ระดับความบกพร่อง ชั้นปกติ สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก สอนเสริม เวลาเรียนร่วม ชั้นปกติ สื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก ครูการศึกษาพิเศษ ชั้นพิเศษ เรียนร่วมบางเวลา ครูการศึกษาพิเศษ น้อย มาก ชั้นพิเศษ ครูการศึกษาพิเศษ Your site here Company Logo
ประสิทธิผลการจัดการเรียนร่วม บทบาทของ ผู้บริหาร สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใด กฎหมาย ประสิทธิผล ของ การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม เจตคติและความร่วมมือของผู้ เกี่ยวข้อง สมรรถภาพของครู การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล Your site here Company Logo
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนร่วม ความพร้อม ของนักเรียน การจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล สภาพแวดล้อม ที่เอื้ออำนวย สื่อ สิ่งอำนวย ความสะดวก Your site here Company Logo