รูปแบบการจัดกิจกรรม กศน. จัดเอง เครือข่ายร่วมจัด เครือข่ายจัดเอง นอกระบบ ปัญหา/ความต้องการของประชาชน ชุมชน/หมู่บ้าน อัธยาศัย
กิจกรรม กศน. หลักสูตรจากฐานชุมชน บริบท สภาพปัจจุบัน หมู่บ้านเป็นห้องเรียน กศน. นำร่องอำเภอละ ๑ หมู่บ้าน (ปี ๕๒-๕๔) มีคณะกรรมการส่งเสริมฯระดับตำบล เรียนรู้แล้ว นำไปเทียบโอนได้ พัฒนาคน(ครู) ด้านการออกแบบกิจกรรม ด้านการจัดการ สร้างแรงจูงใจให้เครือข่ายมาร่วมจัด โดยได้รับสิทธิประโยชน์ มีแผนชุมชน และจัดสรรงบประมาณตามแผน การจัดสรรงบประมาณจัดกิจกรรมให้เป็นทั้งงบปกติ&งบล่ำซำ
กิจกรรมเด่น/จุดเน้นภาคเหนือ งาน ศศช. /ดำรงหลักการเดิม โครงการพระราชดำริ ดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง บูรณาการสาระตามบริบท/วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป
ติดตามประเมินผล/รายงาน สำรวจสภาพปัญหา/ความต้องการ ออกแบบกิจกรรม นอกระบบ อัธยาศัย การจัดการศรช./ชุมชน คณะกรรมการ(ครูเป็นเลขา) อส.กศน.(บทบาทชัดเจน) ติดตามประเมินผล/รายงาน ระดมเครือข่าย/ทรัพยากร จัดกิจกรรม
ความชัดเจนของการบริหารจัดการ ขอความชัดเจนในคำสั่งมอบอำนาจ ยังไม่มีคำสั่ง/อำนาจในการสรรหา&แต่งตั้งครู ศรช. แนวปฏิบัติการรายงานการอนุมัติให้ตนเองไปราชการของ ผอ.จังหวัด การปฏิบัติราชการแทนของ ผอ.สถานศึกษา(ข้อ ๔.๒) ควรแยกวงเงินอนุมัติระหว่างสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์(อะไร เท่าไหร่)
งานเร่งด่วน ระบบข้อมูลสารสนเทศ (จัดโครงสร้างพื้นฐานระดับตำบล/ชุมชน) พัฒนาบุคลากร/ส่งเสริมความก้าวหน้าของผู้บริหารในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นอย่างเท่าเทียม มีแผนพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ