วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน โดย พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ภาควิชาพืชไร่ และศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ม. เชียงใหม่
ระดับ ผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติการ ชุมชน
หน่วยปฏิบัติงานภาคเหนือตอนบน สำนักพัฒนาส่งเสริมการเกษตรเขตที่ 6 สำนักวิจัยและพัฒนาเกษตรเขตที่ 1 เชียงใหม่ เกษตรจังหวัด เกษตรอำเภอ ศูนย์ส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ประจำตำบล TTC หน่วยเกษตรเคลื่อนที่ Mobile Unit (MU)ประจำเขตเลือกตั้ง (เกษตร ประมง ปศุสัตว์ พัฒนาที่ดิน ป่าไม้)
กระบวนการทำงานระดับชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน คัดเลือกและวิเคราะห์พื้นที่เป้าหมาย: - ระบบการผลิตในแต่ละสภาพนิเวศน์ ประเด็นความไม่ยั่งยืน ตัวชี้วัดความไม่ยั่งยืน กำหนดทางเลือกใหม่และแผนปฏิบัติงาน การดำเนินงาน การประเมินผล การสะท้อนกลับของเกษตรกร การปรับตัวและสร้างนวตกรรมใหม่ ของเกษตรกร ข้อมูลเชิงพื้นที่และเวลา บทบาทของผู้รู้ท้องถิ่น กลุ่มผู้เกี่ยวข้อง การจัดลำดับความสำคัญ กระบวน FSR, FFS
สิ่งที่เข้าไปปรับเปลี่ยนหรือเสริมสร้างศักยภาพ มีผลต่อความยั่งยืน ใช้ประโยชน์และทรัพยากรจากองค์ความรู้ท้องถิ่น เพิ่มรายได้ สร้างงานและสร้างความเป็นธรรม สนับสนุนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชน เพิ่มขีดความสามารถการผลิตและความมั่นคงทางอาหาร อื่นๆ
การพัฒนาวิธีการอย่างต่อเนื่อง การจัดกระบวนการเรียนรู้ การกำหนดเกณฑ์และพัฒนาตัวชี้วัด การวิเคราะห์ผู้เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์บทบาทชาย หญิง การจัดลำดับความสำคัญ การวิเคราะห์ส่วนได้ส่วนเสีย การจัดระบบองค์ความรู้พื้นบ้าน การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการปรับปรุงพันธุ์พืช อื่นๆ
การประเมินเทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถในการประเมินผลกระทบที่ระดับต่างๆ เช่น ท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ นานาประเทศ ตัวอย่าง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยด้านอาหาร ซึ่งมีผล ต่อการส่งออก เกษตรกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ สิทธิบัตรทางปัญญา
ผู้ใช้ผลงาน ผู้กำหนดนโยบาย นักวิจัย นักส่งเสริม และ นักพัฒนา กลุ่มเกษตรกร องค์กรท้องถิ่น
ตัวอย่างการเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่นาลุ่ม