DPAC Module1 Introduction to DPAC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
โครงการ “ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง ”
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

DPAC Module1 Introduction to DPAC น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล

35 ล้านคน หรือ ร้อยละ 60 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด 58 ล้านคน http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf องค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าในปี 2548 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากโรควิถีชีวิต 35 ล้านคน หรือ ร้อยละ 60 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด 58 ล้านคน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าในปี 2558 จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าว เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 หรือประมาณ 38.8 ล้านคน

http://www.who.int/chp/chronic_disease_report/contents/part1.pdf

Projected Main Causes of Death, Worldwide, All Ages, 2005 NORDIC FOOD WEEK 19.9.2007

Incidence Rate of Chronic Disease among Thai people by year, 1994-2006 per 100,000 Year Source : In patient report. Bureau of Policy and Strategy MOPH,Thailand,2006

ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกิน ไขมันในเลือดสูง การไม่ทานผักผลไม้ ไขมันในเลือดสูง การไม่ทานผักผลไม้ การไม่ออกกำลังกาย เป็น 5 ใน 10 อันดับแรกของปัจจัยเสี่ยง ที่ทำให้คนไทยเจ็บป่วย และเสียชีวิต ซึ่งมีต้นเหตุหลักคือ การบริโภค และการใช้แรงกาย :ผลสำรวจภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยงของคนไทย พ.ศ.2547 Source: Thai Working group on Burden of Disease. (2007) Burden of disease and injury in Thailand 2004. International Health Policy Program. Bureau of Policy and Strategy. Ministry of Public health.

Prevalence of Metabolic syndrome NCEP III Mod. NCEP IDF USA (NHANES III), 1988-1994 Europe 23 ( 44% in age>50 yr.) 5-36 (age 40-55 yr.) THAILAND InterASIA, 2000 21.9 29.3 EGAT, 1997 13.3 19.4 12.2 DOH, 2007 - 16.5 Source : Nutrition Division, Department of Health (sample : n=1737, sedentary employee group, age>30 yrs.)

การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช. PP Nat. Priority PP exp. demand PP area based PP com 37.50 15.36 109.86 31.0 Vertical Program PP ตำบล37.50 PP กองทุนตำบล PPA เขต PPA จว./อำเภอ

National Priority Program หลักการ เป็นแผนงานระดับชาติ ที่ต้องมี Preventive & Cost Benefit กับประชากรไทย ข้อเสนอ 1. ต้องมีหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีดำเนินการของ NPP ชัดเจน มีคณะผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้กำกับทิศทาง 2. ระยะเวลาสิ้นสุดไม่เกิน 3 ปี และให้บูรณาการเข้าระบบปกติ(Service Function) 3. ผ่านขั้นตอนทำ Model Development แล้ว

National Priority Program ปี 2552  สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย (เน้น เบาหวาน ภาวะอ้วน)  อนามัยเด็ก 0-5 ปี (นมแม่ พัฒนาการ สุขภาพช่องปาก)  คัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (Thailand Healthy Lifestyle Strategy)

การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนประเทศไทย

ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง Behavior MS DM DM with การเกิดโรค complication กรมวิชาการ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ สถานบริการ สอ. รพช. รพท. / รพศ. กลุ่มเป้าหมาย ชุมชน องค์กร โรงเรียน 1. Individual approach DPAC (Diet Physical Activity Clinic) 2. Community approach HPP (Healthy Public Policy)

แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553 ของกรมอนามัย 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. ระดับประชาชน (Valuation) 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำ คนไทยไร้พุงต้นแบบ 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง 14. ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 12. ชุมชน องค์กร/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง 11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีนโยบาย มาตรการทางสังคม กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง ระดับภาคี (Stakeholder) 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสาน งานภาคีเครือข่าย 7. มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (Management) 4. มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1.วัฒนธรรมที่ดี 15 15

บทบาทหน้าที่ของ DPAC Community Other Case Finding Clinic DPAC Case Holding Community Case Finding Other Clinic Intra Hospital Extra Hospital

สรุป บทบาทหน้าที่ของ DPAC สร้าง 3 C Class Change Knowledge ,Attitude ?,Practice ? Clamp Transformation Attitude Practice. Club  Create Supportive Social Env (Self help group)