ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
คน เป็นระบบเปิด มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม มีการปรับตัว ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งเร้าโดยตรง สิ่งเร้าร่วม และสิ่งเร้าแฝง การปรับตัวมี 4 แบบ คือ ปรับตัวตามสรีรวิทยา ปรับตัวด้านอัตมโนมติ ปรับตัวด้านบทบาท และปรับตัวด้านความสัมพันธ์พึ่งพาระหว่างกัน
การปรับตัวตามความต้องการสรีระ การออกกำลังกาย อาหาร การขับถ่าย น้ำและอิเล็คโตรไลท์ ออกซิเจนและการไหลเวียนโลหิต การควบคุม อุณหภูมิ การรับความรู้สึก ระบบต่อมไร้ท่อ
การปรับตัวด้านอัตมโนมติ การปรับตัวด้านอัตมโนมติส่วนกายภาพ เป็นการยอมรับในรูปร่างทางกายภาพของตน ลักษณะเฉพาะตน การทำหน้าที่ต่างๆของอวัยวะ บุคลิกภาพ การปรับตัวด้านอัตมโนมติส่วนตน moral-ethical self self-consistency self-ideal or expectation self-esteem
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ Primary role Secondary role Tertiary role บทบาทตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการ บทบาทที่ขึ้นอยู่กับงาน บทบาทชั่วคราว
การปรับตัวด้านความสัมพันธ์ เป้าหมายเพื่อความมั่นคงด้านสังคมของบุคคล เป็นความสมดุลระหว่างความเป็นตัวของตัวเองและการพึ่งพาผู้อื่น
ทฤษฎีการปรับตัวของรอยกับการพยาบาล การประเมินระดับที่หนึ่ง (ประเมินพฤติกรรม) การประเมินระดับสอง (ประเมินสิ่งเร้าตรง ร่วม แฝง) การระบุปัญหา การกำหนดเป้าหมาย การปฏิบัติการพยาบาล การประเมินผล
การประเมินระดับที่หนึ่ง ข้อมูลที่ต้องรวบรวม การปรับตัวตามความต้องการด้านสรีระ การปรับตัวด้านอัตมโนมติ การตัดสินพฤติกรรมการปรับตัวของผู้รับบริการ
ตัวบ่งชี้ความล้มเหลวในการปรับตัว การรับรู้ ขาดการรับรู้เกี่ยวกับภาวะความจำเป็น ไม่สามารถระบุสิ่งที่เป็นเป้าหมาย ไม่สามารถหาทางบรรลุเป้าหมาย มีความสัมพันธ์ที่จะทำให้เป้าหมายบรรลุผล การควบคุม อัตราการเต้นหัวใจ ความเครียด ความตื่นเต้น เบื่ออาหาร
การประเมินระดับที่สอง การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ปัญหาที่คุกคามชีวิต ปัญหาเชิงทำลาย ปัญหากระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ การประเมินปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการปรับตัว ประเมินสิ่งเร้าโดยตรง ประเมินสิ่งเร้าร่วม ประเมินสิ่งเร้าแฝง
การระบุปัญหา ขั้นกำหนดปัญหาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การปรับตัวตามความต้องการด้านร่างกาย การปรับตัวด้านอัตมโนมติ การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ การปรับตัวด้านความสัมพันธ์พึ่งพาระหว่างกัน การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การกำหนดเป้าหมาย กำหนดข้อความที่เป็นเป้าหมาย สอบถามและทำความตกลงกับผู้รับบริการ
การปฏิบัติการพยาบาล กำหนดจุดมุ่งหมายและวิธีการปฏิบัติการพยาบาล การตกลงกับผู้รับบริการ
การประเมินผล ประเมินประสิทธิภาพของการพยาบาลจาก พฤติกรรมการปรับตัวของผู้รับบริการ
ใบงาน ให้นักศึกษานำทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม และ ทฤษฎีการปรับตัวของรอย ใช้กับกรณีศึกษา โดยดำเนินตามขั้นตอนของแต่ละทฤษฎี