ลักษณะของสุขภาพจิตและ การพยาบาลจิตเวช บทบาทหน้าที่ของพยาบาลจิตเวช ทั้ง 4 มิติ
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย
ใบงาน บุคคลที่มีสุขภาพจิตดีควรมีลักษณะอย่างไร บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจะมีลักษณะใด อาการที่บ่งบอกว่าเป็นอาการผิดปกติของจิตใจในระดับปานกลาง อาการที่บ่งบอกว่าเป็นอาการผิดปกติของจิตใจในระดับรุนแรง
ผู้มีสุขภาพจิตดี มีปรัชญาในการดำเนินชีวิต ยอมรับข้อวิพากวิจารณ์ได้ มีสำนึกในหน้าที่ มีความเที่ยงธรรม รู้จักให้ & รับ เอาชนะสิ่งแวดล้อม ตระหนักในตนเอง สร้าง & รักษามิตร เรียนรู้จากประสบการณ์ ยอมรับข้อวิพากวิจารณ์ได้ เอาชนะความรู้สึกที่ไม่ดี สามารถเผชิญความกลัว รับภาระรับผิดชอบใหม่ได้ ดำเนินกิจกรรมได้ขณะเกิดอารมณ์ผันแปร ทนต่อความเครียดได้ ใช้ศักยภาพของตน
บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย Passivity Dependency Subjective Discomfort Responsibility Defect Inadequate Family Role Inadequate Vocational Role Self Appraisal Disturbance
อาการผิดปกติระดับปานกลาง Suspiciousness Excitement Cyclothymia Depression Withdrawal Impulsivity Chronic Anxiety Hostile Affect Histrionic Behavior Sexual Maladaptation Somatic Complaint
อาการผิดปกติของจิตใจระดับรุนแรง Distort Conceptualization Dissociation Phobia Obsessive Compulsive Substance Abuse Hostile Aggressiveness Sleep Disturbance Hallucination Delusion Memory impairment
บทบาทพยาบาลจิตเวช บทบาทหน้าที่ระดับพื้นฐาน ผู้จัดสรรสิ่งแวดล้อม เสมือนตัวแทนแม่ ตัวแทนสังคม ผู้ให้ปรึกษา เสมือนครู รักษาพยาบาลเฉพาะทาง บทบาทหน้าที่ระดับสูง ที่ปรึกษา ผู้ติดต่อให้ความร่วมมือ ผู้บำบัดรักษาเบื้องต้น ผู้นำบำบัดรักษา ผู้ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ให้ความรู้ ผู้นิเทศ & ประสานงาน
การพยาบาลจิตเวชยึดหลัก 4 มิติ คือ การส่งเสริมสุขภาพจิต จัดกิจกรรมแก่ผู้ใช้บริการทั้งที่มีสุขภาพจิตดี มีความผิดปกติทางพฤติกรรม ครอบครัวผู้ป่วย และชุมชน ให้มีสุขภาวะที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปลอดจากการเจ็บป่วยทางจิต ป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ สอน & ให้คำแนะนำ นิเทศ ประสานงานครอบครัว ประสานกับเจ้าหน้าที่ ศึกษาวิจัย
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต เป็นกิจกรรมที่มุ่งป้องกันบุคคลจากสิ่งคุกคามสุขภาพ หรืออันตรายต่างๆที่จะส่งผลต่อสุขภาพจิต พยาบาลเป็นผู้ให้ความรู้ความเข้าใจ ช่วยเหลือแนะนำในเรื่องการปรับตัว การเผชิญปัญหา การลดความวิตกกังวล การลดความเครียด การช่วยเหลือในภาวะวิกฤต
การบำบัดรักษา เป็นกิจกรรมช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตที่อาจมีความผิดปกติด้านอารมณ์ การรับรู้ และพฤติกรรมที่ผิดปกติ ให้สามารถเผชิญกับสภาพความเป็นจริง และดำรงชีวิต และดำรงชีวิต อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข โดยมีพฤติกรรมเป็นที่ยอมรับของสังคม พยาบาลช่วยให้ผู้ป่วยมีแนวคิด ความรู้สึก และการกระทำที่ถูกต้องและอยู่ในขอบเขตความเป็นจริง เป็นสื่อกลางช่วยให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้ และมองตนเองดีขึ้น
การฟื้นฟูสภาพ ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถพึ่งพาตนเองได้ แก้ไขปัญหา ยอมรับความจริง ควบคุมอารมณ์ ปรับตัวและอยู่ร่วมกับบุคคลได้ จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา การจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัดและให้การรักษาร่วมกับบุคลากร เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อการฟื้นฟูบุคลิกภาพของผู้ป่วยจิตเวชให้มีสุขภาพจิตที่ดี และดำรงภาวะปกติสุขหลังจากการเจ็บป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล การปฏิบัติงานกึ่งอิสระ การปฏิบัติงานอย่างอิสระ การปฏิบัติงานไม่อิสระ การปฏิบัติงานกึ่งอิสระ การปฏิบัติงานอย่างอิสระ
ทีมการพยาบาลจิตเวช พยาบาลผู้เชี่ยวชาญ พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค เจ้าหน้าที่พยาบาล ผู้ช่วยเหลือคนไข้
ทีมสุขภาพจิต & การบำบัดรักษา นักสังคมสงเคราะห์ทางจิตเวช นักอาชีวะบำบัด นักนันทนาการบำบัด จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก