423103 พื้นฐานการคิดเชิงระบบ (Fundamental Systems Thinking) ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ บรรยายโดย..อาจารย์ ณรงค์ศักดิ์ ประสิว E-mail : kangpla1977@hotmail.com 084-5656770 ไม่เกิน 2 ทุ่ม
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. การบรรยาย 2. กิจกรรมเดี่ยว 3. กิจกรรมกลุ่มย่อย 4. การอภิปรายในชั้นเรียน By..Rinsai
กิจกรรมการเรียนการสอน 1. คะแนนงาน 30 คะแนน 2. คะแนนจิตพิสัยและเข้าชั้นเรียน 10 คะแนน 3. คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนน 4. คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน By..Rinsai
ผลการศึกษา A ดีมาก B+ ค่อนข้างดีมาก B ดี C+ ค่อนข้างดี C พอใช้ D อ่อน F ตก I การประเมินผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) W งดเรียนโดยได้รับอนุมัติ (Withdrawn) By..Rinsai
กฎระเบียบสำหรับผู้เรียน เข้าเรียนตรงเวลา เช็คชื่อทุกครั้ง มาเรียนตรงเวลาได้ 2 มาสายได้ 1 นิสิตที่มาเรียนตรงเวลา (เลข2) ร้อยละ 80 มีสิทธิ์ได้รับคะแนนจิตพิศวาส ขาดเรียนเกิน 4 ครั้ง Drop ได้เลย ขณะเรียนต้องตั้งใจฟังบรรยาย ให้ความร่วมมือและมีความ สนใจในกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งงานให้ตรงเวลา หากส่งเกินเวลาที่กำหนดจะถูกหักคะแนน โดยใบงานจะต้องส่งอาทิตย์ถัดไปในคาบเรียนทุกครั้ง By..Rinsai
กฎระเบียบสำหรับผู้เรียน (ต่อ) ห้ามลอกงานผู้อื่น ถ้าตรวจพบจะไม่ได้คะแนนทั้งผู้ลอกและผู้ให้ลอก การขาดสอบปลายภาค จะมีผลการเรียนเป็น F ทันที การแต่งกายเข้าเรียนในแต่ละสัปดาห์ให้นิสิตปฏิบัติดังนี้ แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ห้ามสวมรองเท้าแตะ ห้ามสวมกางเกงยีนส์ By..Rinsai
กฎระเบียบสำหรับผู้เรียน (ต่อ) การแต่งกายเข้าเรียน (ต่อ) ห้ามสวมเสื้อกาวน์ เสื้อช้อป ห้ามสวมชุดพละ ห้ามปล่อยชายเสื้อไว้ นอกกางเกงหรือกระโปรง ห้ามสวมเสื้อรัดรูป ห้ามสวมกระโปรงสั้นผ่าสูง By..Rinsai
คำอธิบายรายวิชา ความหมาย หลักการ คุณค่า แนวคิด ที่มา และธรรมชาติของการคิดเชิงระบบ การคิดเชิงระบบกับองค์กรการเรียนรู้ การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหา การนำหลักการคิดเชิงระบบไปใช้กับสาขาวิชาต่างๆ ประยุกต์การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาลักษณะต่างๆ By..Rinsai
เมื่อผู้เรียนศึกษารายวิชานี้จบแล้ว ควรจะสามารถ วัตถุประสงค์ เมื่อผู้เรียนศึกษารายวิชานี้จบแล้ว ควรจะสามารถ 1. บอกความหมาย หลักการ คุณค่า แนวคิดที่มา และธรรมชาติของการคิดเชิงระบบได้ 2.อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบ กับการเป็นองค์กรการเรียนรู้ได้ 3. มีทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ปัจจัยย่อย ของปัญหาที่กำหนดขึ้นได้อย่างเหมาะสม By..Rinsai
5.สร้างวงจรสาเหตุแห่งปัญหาที่กำหนดขึ้นได้อย่างเหมาะสม 4.ระบบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เป็นสาเหตุและปัจจัยที่เป็นผลได้อย่างสมเหตุสมผล 5.สร้างวงจรสาเหตุแห่งปัญหาที่กำหนดขึ้นได้อย่างเหมาะสม 6.แสดงกระบวนการคิดเชิงระบบเพื่อการแก้ปัญหาแต่ละวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม By..Rinsai
ที่ หัวข้อบรรยาย ๑ ปฐมนิเทศรายวิชา / ความหมาย หลักการ คุณค่า แนวคิด ที่มา และธรรมชาติของการคิดเชิงระบบ ๒ ความหมาย ความสำคัญ หลักการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิดแบบพลวัต (Dynamic thinking) การคิดแบบระบบแห่งสาเหตุ (System-as-cause thinking) การคิดมองแบบภาพรวม (Forest thinking) ๓ ความสำคัญ ความจำเป็น หลักการคิดเชิงระบบ การคิดเชิงระบบกับการเป็นองค์กรการเรียนรู้ By..Rinsai
๔ กระบวนการคิดเชิงระบบ ๕ การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหา การจัดระเบียบปัญหา (Formulating the problem) การระบุตัวแปร (Identifying Variables) การเขียนกราฟแสดงพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลาหนึ่ง (Drawing Behavior Over Time Graphs) การสร้างแผนภาพวงจรสาเหตุ (Building Causal Loop Diagrams) ๖ การเขียนตัวแทนโครงสร้างระบบด้วยการใช้แผนภาพแทนความคิด (Causal Loop Diagrams : CLD)
๗ หลักการประยุกต์การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาลักษณะต่างๆ ๘ สอบกลางภาค ๙ กรณีศึกษา 1 : ปัญหาสังคม 1 ๑๐ กรณีศึกษา 2 : ปัญหาสุขภาพ 1 ๑๑ กรณีศึกษา 3 : ปัญหาธุรกิจ 1
๑๒ กรณีศึกษา 4 : ปัญหาสังคม 2 ๑๓ กรณีศึกษา 5 : ปัญหาสุขภาพ 2 ๑๔ กรณีศึกษา 6 : ปัญหาธุรกิจ 2 ๑๕ การนำเสนอผลงาน ๑๖ สอบปลายภาค
หมายเหตุ : กำหนดการเรียนการสอนนี้ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามประกาศของมหาวิทยาลัย และ / หรือ ข้อตกลงระหว่างผู้เรียนและผู้สอน http://seashore.buu.ac. th/~narongsp/