ขั้นตอนวิธีเก็บพิกัดโรคยางพารา กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ขั้นที่ 1 ตั้งค่าเครื่อง GPS ไปที่เมนู “ตั้งค่า”
ขั้นที่ 1 ตั้งค่าเครื่อง GPS ไปที่เมนู “ตั้งค่า”
ขั้นที่ 2 ถ่ายภาพ ออกจากเมนู ไปที่เมนู “กล้อง” ถ่ายภาพ
ขั้นที่ 3 เก็บพิกัด ไปที่เมนู Waypoint คนที่ 1 พิมพ์เลข “1”
ขั้นที่ 3 เก็บพิกัด (ต่อ) ขั้นที่ 3 เก็บพิกัด (ต่อ) เลือกรูปที่ ต้องการ ไปเปลี่ยนสัญลักษณ์ว่าเป็นโรคอะไร
ขั้นที่ 3 เก็บพิกัด (ต่อ) ขั้นที่ 3 เก็บพิกัด (ต่อ) สีน้ำตาล=โรครากน้ำตาล สีขาว=โรครากขาว สีแดง ขาว=โรคราสีชมพู สีแดง=โรครากแดง X กลับสู่หน้าจอเมนูหลัก เพื่อเรียกดูข้อมูล จดลงในแบบบันทึก
ขั้นที่ 4 เรียกดูข้อมูลเพื่อจดใส่แบบบันทึก ขั้นที่ 4 เรียกดูข้อมูลเพื่อจดใส่แบบบันทึก ไปที่เมนู “WayPoint Manager” เลื่อนลูกศร ไปที่ เปลี่ยนพิกัด ค่า “X” ค่า “Y” จดข้อมูลลงในแบบบันทึก
ขั้นที่ 5 นำข้อมูลพิกัดจาก GPS ลงคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องลงโปรแกรม BaseCamp เลือก “ภาษาไทย” เปลี่ยนภาษา “Edit – Options… เลือก General
ขั้นที่ 5 นำข้อมูลพิกัดจาก GPS ลงคอมพิวเตอร์ สร้างโฟลเดอร์ใหม่ ปิดเครื่องเสียบสายถ่ายโอนข้อมูล USB เลือก “ใช่” เลือก “ที่จัดเก็บภายใน” เช่น เปลี่ยนเป็น “ต.ขุนทะเล” เปลี่ยนชื่อ พิมพ์ชื่อที่ต้องการ
ขั้นที่ 5 นำข้อมูลพิกัดจาก GPS ลงคอมพิวเตอร์ ไปที่ตำบลที่ตั้งค่าไว้ คลิกขวา “วาง” เลือก “คัดลอก” สร้างโฟลเดอร์ “อ.เมือง” เลือกไดร์ที่จะ save เช่น save ที่ Desktop จะได้ข้อมูลจากเครื่อง GPS ถ่ายข้อมูลลง คอมพิวเตอร์ไปที่ “เอ็กซ์ปอร์ต”
ขั้นที่ 6 ส่งข้อมูลให้จังหวัด ขั้นที่ 6 ส่งข้อมูลให้จังหวัด 1. จัดส่งข้อมูลให้จังหวัด 2 แบบ คือ 1.1 แบบบันทึกข้อมูลพิกัดฯ 1.2 แผ่น CD ข้อมูล 2. จังหวัดนำข้อมูลไปจัดทำแผนที่โรคระบาดยางพารา โดยใช้โปรแกรม ArcGIS 3. ส่งแผนที่โรคยางพาราให้แต่ละอำเภอเพื่อเป็นข้อมูลโรคยางพาราแต่ละอำเภอ
ขอบคุณเป็นอย่างสูง