โดย.. นายประเสริฐ ดอยลอม การจัดทำแผนรายพืช ตัวอย่าง – ลำไย โดย.. นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
ข้อมูลทั่วไป -ผลผลิตเฉลี่ยของจังหวัดน่านเปรียบเทียบ กับ 8 จังหวัด -ผลผลิตเฉลี่ยของจังหวัดน่านเปรียบเทียบ กับ 8 จังหวัด -ผลผลิตเฉลี่ยของแต่ละอำเภอเปรียบเทียบ กับจังหวัดน่าน และประเทศ
มิติคุณภาพ + ปริมาณ AA = 38% ราคา 21 A = 50% ราคา 15 B = 12% ราคา 3 รายได้ = 8,427 บาท/ไร่ ขณะที่ต้นทุนของ สศก. = 8,362 บาท/ไร่ กำไร = 65 บาท/ไร่
มิติเวลา เดือน มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ปริมาณ 0.1% 39.8 % 52.12 % 7.97 % เดือน มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ปริมาณ 0.1% 39.8 % 52.12 % 7.97 % ราคา - 18-8-3 18-7-3 18-8-3 (AA-A-B)
ข้อมูลลำไยสด จ.น่านที่ส่งออกได้ = 1 % ข้อมูลลำไยสด จ.น่านที่ส่งออกได้ = 1 % -เพราะคุณภาพและความสม่ำเสมอของผลผลิต ยังไม่ดี – ตัดแต่งช่อมาก -เพราะสีไม่ดี คุณภาพสีผิว
เปรียบเทียบกับสถาบันเกษตรกร ภาคตะวันออก -ผลิตลำไยนอกฤดู -มีการตกลงซื้อขายกับผู้ส่งออกได้ -ลำไยจันทบุรีไปถึงเวียดนาม -เป็นสมาคม มีระเบียบชัดเจน -เกษตรกรหัวไวใจสู้ มีความรู้ กล้าลงทุน พัฒนาระบบน้ำ -พัฒนาระบบขนส่ง (รถห้องเย็นลูกทุ่ง) -พัฒนาการลำไยจันทบุรีสั้นกว่าน่าน แต่ไปได้เร็วกว่า
เทียบเคียงภาคตะวันออก จะเห็นจุดอ่อน
มาตรฐาน โรงงานรมซัลเฟอร์
-ขอให้ช่วยเติม S-W-O-T ที่มองเห็น -นำมาเชื่อมจับคู่-จับชุด เป็นกลยุทธ์
-วิเคราะห์ว่าแต่ละกลยุทธ์ จะทำอำเภอไหนบ้าง กำหนดเป้าหมายจากแต่ละ อำเภอเป็นของจังหวัด
-มีกรอบโครงการที่กระทรวง จัดให้แต่ละจังหวัด -ส่วนที่ยังขาดคิดไว้ให้ครบ เพื่อเสนอของบจาก -จังหวัด / อปท.
สรุป ทำแผนพัฒนา -พืช ศัตรูพืช -ปริมาณ คุณภาพ เวลา -เกษตรกร/องค์กรเกษตรกร -การตลาด โลจิสติกส์ -บุคลากร
จบการนำเสนอ