การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
เพื่อเสริมพลังปฏิรูปการเรียนรู้
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
กระบวนการการทำงานชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การบริหารจัดการ Input Process Output Outcome (ปัจจัย) (กระบวนการ)
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน การปรับกระบวนทัศน์ และแนวคิด การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน 19 มกราคม 2555 ณ B.P. Grand Tower จ.สงขลา

จากความเชื่อสู่วัฒนธรรมชุมชน 6. วัฒนธรรมชุมชน 5. วิถีชีวิต 4. วิธีทำงาน ระดับการเปลี่ยนแปลง 3. วิธีให้คุณค่า 2. วิธีคิด กระบวนทัศน์ 1. ความเชื่อ ระยะเวลา

ไม่มีใครรู้ทุกเรื่อง และไม่มีใครไม่รู้อะไรเลย ทุกคนจึงเป็นครูของเราได้ ในสิ่งที่เขาทำเก่ง

“ปัญหา” การพัฒนา “เกษตรกร” 1. คนทำไม่ได้คิด คนคิดไม่ได้ทำ 2. ขาดเป้าหมายร่วมกัน

การบริหารจัดการ ตาม “สถานการณ์”? อย่างมี “เป้าหมาย”?

เป้าหมายการเกษตร ในยุคทำมาค้าขาย ▪ เป้าหมายระยะสั้น - กำไร (กฎมนุษย์+กฎธรรมชาติ) ▪ เป้าหมายระยะยาว - ดินดี น้ำดี - คุณภาพชีวิตดี (พึ่งตนเองได้) - ชุมชนเข้มแข็ง (วัฒนธรรม) ประทีป (๒๑ ม.ค. ๕๒)

การวางแผน? แผนงานที่ดี? การนำงานในอนาคต มาทำในกระดาษ - มีเป้าหมายชัดเจนและท้าทาย - นำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง

เป้าหมายชัดเจน? ต้องการอะไร? เท่าไร? เมื่อไร? เป้าหมายที่วัดได้ (มีตัวเลข) มีกำหนดเวลาในการบรรลุ ต้องการอะไร? เท่าไร? เมื่อไร?

การพัฒนา การเกษตร ควรเอา “พื้นที่” เป็น “ตัวตั้ง”

เรียนรู้จาก “กิจกรรม” ปฏิรูปการเรียนรู้ เปลี่ยนจาก สอนโดยให้ “ความรู้” ไปเป็น สอนด้วย “คำถาม” เรียนรู้จาก “กิจกรรม”

เพื่อเพิ่ม “รายเหลือ” (กำไร) กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเพิ่ม “รายเหลือ” (กำไร) 1. ลดค่าใช้จ่าย (ต้นทุนการผลิต) 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 3. เพิ่มคุณภาพผลผลิต 4. เพิ่มมูลค่า (แปรรูปผลผลิต) 5. สร้างแบรนด์ (ทำการตลาด) “ให้เกษตรกรเริ่มจากข้อ 1”

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย กิจกรรม 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย กิจกรรม 2. จัดทำแผนที่ “เกษตรกรคนเก่ง” 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

ครูติดแผ่นดินข้าว # # จ.สุพรรณบุรี Company Logo ๘ ม.ค. ๕๔

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช กิจกรรม 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ 2. จัดทำแผนที่ “เกษตรกรคนเก่ง” 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

คำถาม 1 การปลูกข้าวในฤดูที่ผ่านมามีค่าใช้จ่ายหลักๆ อะไรบ้าง? เท่าไร?

คำถาม 2 ในฤดูหน้า ค่าใช้จ่ายที่ลดได้ง่าย และลดได้ด้วยตนเอง 4 แห่งมีอะไรบ้าง? ลดได้เท่าไร? อย่างไร? และรวมทั้งหมดลดได้เท่าไร?

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช กิจกรรม 4. คัดเลือกไร่นาเป็นแหล่งเรียนรู้ 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ 2. จัดทำแผนที่ “เกษตรกรคนเก่ง” 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

KM วิธีปฏิบัติที่ดี จัดเวทีฯ งานเร่งด่วนใน 2 เดือน 1 จังหวัด 1 พืช 1 อำเภอ 3 กลุ่ม เกษตรกรผู้นำ วิธีปฏิบัติที่ดี KM จัดเวทีฯ แหล่งเรียนรู้ ๕ ม.ค. ๕๕

KPI “แหล่งเรียนรู้” ที่มีคุณภาพ 1. เจ้าของแหล่งเรียนรู้มีคุณภาพ - ประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพ - มีความสามารถในการถ่ายทอดฯ - มีการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. แหล่งเรียนรู้มีความพร้อม - กิจกรรมในไร่นามี “จุดเด่น” - มีองค์ความรู้และข้อมูลชัดเจน 3. มีเครือข่ายและเชื่อมโยงชุมชนท้องถิ่น

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช 5. เตรียมความพร้อมแหล่งเรียนรู้ กิจกรรม 4. คัดเลือกไร่นาเป็นแหล่งเรียนรู้ 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ 2. จัดทำแผนที่ “เกษตรกรคนเก่ง” 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช 6. วิเคราะห์ “Training Needs” การลดต้นทุน 5. เตรียมความพร้อมแหล่งเรียนรู้ กิจกรรม 4. คัดเลือกไร่นาเป็นแหล่งเรียนรู้ 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ 2. จัดทำแผนที่ “เกษตรกรคนเก่ง” 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช 7. ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่เกษตรกร 6. วิเคราะห์ “Training Needs” การลดต้นทุน 5. เตรียมความพร้อมแหล่งเรียนรู้ กิจกรรม 4. คัดเลือกไร่นาเป็นแหล่งเรียนรู้ 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ 2. จัดทำแผนที่ “เกษตรกรคนเก่ง” 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

แนวทางการลดต้นทุนการผลิตพืช 8. รวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายเกษตรกร 7. ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่เกษตรกร 6. วิเคราะห์ “Training Needs” การลดต้นทุน 5. เตรียมความพร้อมแหล่งเรียนรู้ กิจกรรม 4. คัดเลือกไร่นาเป็นแหล่งเรียนรู้ 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ 2. จัดทำแผนที่ “เกษตรกรคนเก่ง” 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เวลา ๒๘ ก.พ. ๕๔

โรงเรียนเกษตรกร “ภูมิสังคม” จังหวัด อำเภอ ตำบล ชนิดพืช เกษตรกรผู้นำ วิธีปฏิบัติที่ดี เครือข่าย กลุ่ม KM จัดเวทีฯ แหล่งเรียนรู้ วิจัยและพัฒนา ๕ ม.ค. ๕๕

KPI “กลุ่มเกษตรกร” ที่เข้มแข็ง 1. มีการพัฒนากลุ่มอย่างต่อเนื่อง - มีกิจกรรมพัฒนา แก้ปัญหา และให้บริการ 2. สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม - ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมรับผลประโยชน์ 3. มีแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 4. มีความมั่นคงยั่งยืนทางเศรษฐกิจ - มีกองทุน และมีการออม 5. มีผู้นำกลุ่มที่มีความรู้ความสามารถ