ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
นางสาว จริยา อุทุมพร รหัสนักศึกษา
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
รายงานผลการดำเนินงานของ รัฐต่อสาธารณะ ประจำปี 2554 โดย กลุ่มงานมาตรฐาน สำนักพัฒนามาตรฐาน.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
ระบบส่งเสริมการเกษตร
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

หลักการ/แนวคิดของศูนย์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรเป็นของชุมชน บริหารจัดการโดยชุมชน ศูนย์บริการฯ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้การเกษตร และเป็นกลไกการส่งเสริมการเกษตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรทำหน้าที่เลขาศูนย์ฯ ประสานงาน เชื่อมโยง กระตุ้น เร่งเร้า และเป็นที่ปรึกษา ใช้หลักการทำงานแบบบูรณาการ และทำงานกับชุมชนแบบมีส่วนร่วม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ผู้รับผิดชอบศูนย์บริการฯ ควรทราบกระบวนการทำงาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ แผนงาน/โครงการ กิจกรรม การบริหารจัดการภาครัฐ CEO หลักการบริหารจัดการ แผนพัฒนาเกษตรปฏิบัติ การบริหารภาคประชาชน กรรมการศูนย์ฯ พัฒนาเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น มีการถ่ายทอด/บริการ ศูนย์บริการฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ศูนย์บริการเป็นกลไกในการทำงาน หน่วยงานรัฐ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล องค์กรเอกชน องค์กรท้องถิ่น ชุมชน/เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกอย่างไร บทบาทสำคัญ คือบูรณาการงานพัฒนาการเกษตรทุกเรื่อง ระหว่างรัฐ กับ รัฐ ระหว่างรัฐ กับท้องถิ่น/ชุมชน พัฒนาระบบการเรียนรู้ของชุมชน มีแผนของชุมชน มีระบบการเชื่อมโยง/สนับสนุน มีระบบการติดต่อสื่อสาร/ประสานงาน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ความพร้อม/องค์ประกอบศูนย์ สำนักงาน และข้อมูล คณะกรรมการบริหารศูนย์ แผนพัฒนาการเกษตร จุดสาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยี 5. เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

การบริหารจัดการศูนย์เป็นเรื่องสำคัญ เกษตรกรมาติดต่อจะพบใคร (เจ้าหน้าที่/เกษตรกรอาสาสมัคร/กรรมการศูนย์ฯ... ใครประจำศูนย์) สิ่งอำนวยความสะดวกตามความจำเป็น มีอะไรบ้าง ทำได้อย่างไร ระบบการรับ-ส่งเอกสาร คำขอรับบริการ ตู้รับฟัง ความคิดเห็น ระบบการติดตามผล (เกษตรกรจะติดตามผลที่ไหน) ช่องทางการติดต่อประสานงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

การทำให้ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกที่ดี ผู้รับผิดชอบศูนย์ฯ มีความมั่นใจและเชื่อมโยงการทำงานได้ กรรมการศูนย์ฯ รู้สึกภูมิใจและถือว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่ง ของศูนย์บริการฯ เกษตรกรรู้จักศูนย์ และรู้ว่าศูนย์มีบทบาทอย่างไร เกษตรกรมาร่วมกิจกรรมที่ศูนย์ฯ องค์กรปกครองท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทและให้การสนับสนุน เต็มที่ ข้าราชการ นักการเมืองมองภาพศูนย์ฯ ในเชิงบวก “ศูนย์ฯ ถือเป็นองค์กรที่ประกอบด้วยมวลชนจำนวนมากและเป็นขุมกำลังที่ยิ่งใหญ่ของกรมฯ” กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ประสิทธิภาพการทำงานของกรรมการ ต้องเข้าใจว่าตัวกรรมการ คือ ใคร มีบทบาทอย่างไร จะเริ่มทำงานอย่างไร ทำข้อตกลงร่วม / แบ่งหน้าที่ สร้างความรับผิดชอบในหน้าที่ ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ติดตามผลงาน ปรับปรุงแก้ไข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

การบริหารจัดการที่ดีของกรรมการ มีการวางแผนการทำงาน จัดองค์กรดี / เหมาะสม แบ่งบทบาทหน้าที่ ประสานงานในระดับต่างๆ รายงาน / เผยแพร่ผลงาน การจัดการงบประมาณที่ดี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ศูนย์บริการฯ ต้องเปิดทุกศูนย์ จุดเน้น ศูนย์บริการฯ ต้องเปิดทุกศูนย์ กรรมการมีความพร้อม เข้าใจในบทบาท หน้าที่ และจัดการดี มีใจให้กับศูนย์บริการฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล สวัสดี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล