ระบบส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
ระบบส่งเสริมการเกษตร
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบส่งเสริมการเกษตร กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง

ระบบส่งเสริมการเกษตร ระบบส่งเสริมการเกษตร หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการส่งเสริมการเกษตร ทั้งการปฏิบัติงานในพื้นที่และการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ซึ่งมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2

หลักการของระบบส่งเสริมการเกษตร 1. ใช้ศูนย์บริการฯ (ศบกต.) เป็นกลไกในการขับเคลื่อนงาน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยมีคณะกรรมการ ศบกต. อาสาสมัครเกษตร กลุ่ม/เครือข่าย ร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ เรียนรู้และพัฒนาตนเองจากการปฏิบัติงาน และเรียนรู้ และทำงานร่วมกันเป็นทีม (Team Learning and Working) 4. นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงาน 3

แนวทางการดำเนินงาน 1. เสริมหนุนให้ ศบกต. สามารถทำงานได้ในการพัฒนาการเกษตรในระดับตำบล 2. สร้างเป้าหมายร่วมในการปฏิบัติงานในทุกระดับ 3. ใช้ความรู้เป็นฐานในการปฏิบัติงานเพื่อให้บุคลากรมีขีดความสามารถพร้อม (Knowledge Worker) 4. ปรับเปลี่ยนบทบาทวัฒนธรรมในการทำงาน เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการ และพัฒนาการเรียนรู้โดยชุมชนเอง 4

ของระบบส่งเสริมการเกษตร องค์ประกอบ ของระบบส่งเสริมการเกษตร ระบบการปฏิบัติงาน ในพื้นที่ ระบบสนับสนุน การปฏิบัติงาน 5

ระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่ 7

ระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่ ประกอบด้วยการทำงาน 2 ระดับ คือ ระดับอำเภอ  กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่  การจัดทำข้อมูลการเกษตร ระดับตำบล  การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล  การจัดการเรียนรู้/การถ่ายทอดเทคโนโลยี  การให้บริการทางการเกษตร  การส่งเสริมกลุ่ม/เครือข่าย 8 8 8

แผนภูมิระบบการปฏิบัติงานในพื้นที่ กลุ่ม/เครือข่าย แผนพัฒนาการเกษตร การเรียนรู้ บริหารจัดการ(ศบกต.) ข้อมูล การบริการ กระบวนการทำงานของเจ้าหน้าที่ ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน 9 9

กระบวนการทำงานในระดับอำเภอ 1 3 5 6 2 จัดทำข้อมูล อำเภอ 1.............. 2.............. 3............. 4 ฯลฯ จัดทำข้อมูล ตำบล 1 กายภาพ 2 ชีวภาพ 3เศรษฐกิจ 4 สังคม 5 สิ่งแวดล้อม 6 ทุน/ทรัพยากร 7 ความรู้/วิชาการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย แผนปฏิบัติงาน ส่งเสริม และพัฒนา สรุป/รายงาน เวทีวันจันทร์ เวที DM เวที DW ประจำปี แผนปี/เดือน - สนง. - บุคล แผนปฏิบัติงาน /โครงการ แนวทางพัฒนาการเกษตร 1.เครื่องมือ วิธีการแบบ มีส่วนร่วม ให้รู้ - สถานการณ์ - ปัญหา - ศักยภาพ - โครงการ ................ - โครงการ ............... - โครงการ ............... 1.ส่งเสริมการผลิต 4 ให้มีระบบ - การจัดเก็บ /ปรับปรุง /ตรวจสอบ - การรวบรวม /บันทึก - การเผยแพร่ ผู้รับผิดชอบ - ข้าว ................ - ไม้ผล ............... - พืชผัก ............... - พืชไร่ ............... -ไม้ดอก ............... - พืชฤดูแล้ง ............... ประชาสัมพันธ์ - พืช - สัตว์ - ประมง - ดิน - สวล. 2.กลไกขับเคลื่อน นสพ. วิทยุชุมชน TV จดหมายข่าว แผ่นปลิว ฯลฯ ศบกต. ศก.พอเพียง สถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร 2.สถาบันเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ - ก.ส่งเสริมอาชีพ ................ -ก.แม่บ้านเกษตรกร ............... -ก.ยุวเกษตรกร .............. 4.กระบวนการถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ รร.เกษตรกร การจัดการความรู้ คลินิกเกษตร วิจัยท้องถิ่น เวทีประชาคม - เวทีเรียนรู้ 3.วิสาหกิจชุมชน ผู้รับผิดชอบ ................... 4.งานพัฒนาองค์กร ผู้รับผิดชอบ - งบประมาณ ................ - สำนักงาน ............... - บุคลากร .............. จำลอง พุฒซ้อน สนง เกษตรอยุธยา

. กระบวนการทำงานในระดับตำบล 1 3 4 5 2 จัดทำข้อมูล ตำบล วิเคราะห์ 1 กายภาพ 2 ชีวภาพ 3เศรษฐกิจ 4 สังคม 5 สิ่งแวดล้อม 6 ทุน/ทรัพยากร 7 ความรู้/วิชาการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย การถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ การบริการ ส่งเสริม กลุ่ม/เครือข่าย ดำเนินการ ทำข้อมูลกลุ่ม /เครือข่าย แผนพัฒนากลุ่ม สนับสนุนการ ดำเนินกิจกรรม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แผนพัฒนาการเกษตร 1.เครื่องมือ 1.ณ.ศบกต. วิธีการแบบ มีส่วนร่วม ให้รู้ - สถานการณ์ - ปัญหา - ศักยภาพ 1.ส่งเสริมการผลิต - โครงการ ................ - โครงการ ............... - โครงการ ............... - รับเรื่อง - ประสาน - แก้ไข/ให้ความรู้ - ติดตามผล - ข้าว - ไม้ผล - พืชผัก - พืชไร่ -ไม้ดอก - พืชฤดูแล้ง - พืช - สัตว์ - ประมง - ดิน - สวล. ให้มีระบบ - ทบทวน /ปรับปรุง /ตรวจสอบ - จัดเก็บ/ รวบรวม/ - การเผยแพร่ - ใช้ประโยชน์ 2.กลไกลขับเคลื่อน 2.คลินิกประหยัด ศบกต. ศก.พอเพียง สถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร ตามความต้องการ ของชุมชน เร่งด่วน/โดยรวม ตามกระบวนการ คลินิกเกษตร ร่วมกับกรรมการศูนย์ฯ 2.สถาบันเกษตรกร - ก.ส่งเสริมอาชีพ - กแม่บ้านเกษตรกร - ก.ยุวเกษตรกร 3.วิสาหกิจชุมชน 4.กระบวนการถ่ายทอด /จัดการเรียนรู้ 4.งานพัฒนาศูนย์ รร.เกษตรกร การจัดการความรู้ คลินิกเกษตร วิจัยท้องถิ่น เวทีประชาคม - เวทีเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ - เครื่องมือ/อุปกรณ์............. - สำนักงาน ............. - บุคลากร ............. . นำเสนอ/ บรรจุเข้าแผน อปท. จำลอง พุฒซ้อน สนง เกษตรอยุธยา

กระบวนการพัฒนาและปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร 1 2 วิเคราะห์สถานการณ์ ระบบการทำงานในพื้นที่ เทียบเคียงกับผลสำเร็จ/ ผลผลิต ของระบบใหม่ 1.การทำงานระดับอำเภอ -จัดทำข้อมูลการเกษตร - กำหนดเป้าหมายร่วม - จัดทำแผนปฏิบัติงาน - มอบหมายผู้รับผิดชอบ - การดำเนินการส่งเสริม - ติดตาม ประเมิน รายงาน - มีฐานข้อมูล และเป้าหมายของ สนง. - มีแผนพัฒนาที่ชุมชนปฏิบัติได้เอง - มีการบูรณาการกับท้องถิ่น - มีกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง - มีการให้บริการที่รวดเร็ว ทั่วถึง - ชุมชนร่วมประเมิน/ปรับปรุงงาน - ชุมชนมีส่วนร่วมสร้างกลุ่ม/เครือข่าย ให้รู้ว่า วิธีการทีทำอย่เป็นอย่างไร ผลที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร มีปัญหา อุปสรรคอะไร จะ ต้องแก้ไขอะไร/อย่างไร 2.การทำงานระดับตำบล - จัดทำข้อมูลการเกษตร - แผนพัฒนาการเกษตร - จัดการเรียนรู้/ถ่ายทอด - การให้บริการ - ส่งเสริมกลุ่ม/เครือข่าย จะรู้ว่า บรรลุเป้าหมายหรือยัง มีช่องว่างอะไร จะพัฒนา ปรับปรุงอะไรบ้าง 5 3 4 สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาปรับปรุง กำหนดวิธีการทำงาน ใหม่ในทุกประเด็นทั้ง ระดับอำเภอ/ตำบล ปฏิบัติงานตาม วิธีการใหม่ (Action) ใช้เวที - ทุกวันจันทร์ - DM - DW

กลไกการดำเนินงานจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล ท้องถิ่น ศบกต. ระบบส่งเสริมการเกษตร (พื้นที่) ข้อมูลการเกษตร อปท. แผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารฯ ศบกต. บริการจัดการ แผนปฏิบัติการ จนท./ ศบกต./ อปท. สนับสนุน เวทีชุมชน การเรียนรู้ ภารกิจถ่ายโอน เกษตรกร การให้บริการ บูรณาการแผน แผนพัฒนาการเกษตร (ปี ๕๕-๕๗) เครือข่ายการทำงาน ร่วมกับ ศบกต. ด้าน การถ่ายทอด ด้านการลงทุน เชิงธุรกิจ/ วิสาหกิจชุมชน ด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ประชุมผู้แทนคณะ กก.ศบกต. เตรียมจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบลบูรณาการกับแผนพัฒนาท้องถิ่น อาสาสมัครเกษตร (เกษตรหมู่บ้าน) เป็นวิทยากร ศูนย์เรียนรู้ การเกษตรพอเพียง จุดสาธิต/ ถ่ายทอด ศบกต. สนง.กษจ. รับสมัคร คัดเลือกโดยคณะกรรมการ ศบกต. ประชุมชี้แจงบทบาทหน้าที่ และถ่ายทอดความรู้ ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรกรเป้าหมาย GAP ยากจน ก้าวหน้า เกษตรกรทั่วไป/ ผู้สนใจ วิทยากร/ ปราชญ์

ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน (ฉบับปรับปรุง ปี 2553) 14

เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร ประกอบด้วย - การสัมมนาเชิง ปฏิบัติการตามระบบ ส่งเสริมการเกษตร - การประชุม เพื่อการบริหาร 15

เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร 1 เวทีสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ สัมมนา เจ้าภาพ การจัดเวที NW ส่วนกลาง อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี RW เขต ปีละ 3 ครั้ง PW จังหวัด DW อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง 16

เวทีตามระบบส่งเสริมการเกษตร 2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที ผู้บริหารกรมฯ ส่วนกลาง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง สำนัก/กอง/เขต/ศูนย์ฯ หน่วยงาน ทุกเดือน กษจ./หน.ส่วนฯ ระดับเขต เขต ทุก 3 เดือน 17

เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ) 2 เวทีการประชุมเพื่อการบริหาร (ต่อ) ประชุม เจ้าภาพ การจัดเวที PM จังหวัด เดือนละ 1 ครั้ง MM เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 4 DM อำเภอ เดือนละ 1 ครั้ง / สัปดาห์ที่ 1 WM ทุกสัปดาห์ (1 วัน) 18

ซั ก ถ า ม & แ ล ก เ ป ลี่ ย น 19

ส วั ส ดี