หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
Advertisements

หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง นายอรรถ อินทลักษณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

วัตถุประสงค์ 1. กำจัดเพลี้ยแป้งในไร่มันสำปะหลังให้หมดไป 2.ป้องกันไม่ให้เพลี้ยแป้งระบาดในฤดูการเพาะปลูกต่อไป

เป้าหมาย 20 จังหวัด 102 อำเภอ 447 ตำบล เกษตรกรประมาณ 53,000 ราย

มาตรการ 2 มาตรการ มาตรการเร่งด่วน ในการกำจัดเพลี้ยแป้งในไร่มันสำปะหลังให้ลดการระบาดลงให้มากที่สุด มาตรการระยะยาว การป้องกันไม่ให้เพลี้ยแป้ง ระบาดในฤดูการเพาะปลูกต่อไป

ข้อมูลการใช้กิ่งพันธุ์ ฐานข้อมูลการผลิต พื้นที่ปลูก (ล้านไร่) จำนวนเกษตรกร (ราย) พื้นที่ปลูกเฉลี่ย/ราย (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ (ตัน) ผลผลิตรวม(ล้านตัน) 7.7 437,000 20 3.6 27 ข้อมูลการใช้กิ่งพันธุ์ พื้นที่ปลูก (ล้านไร่) พื้นที่เสียหาย(ล้านไร่) พื้นที่ไม่ถูกทำลายโดยเพลี้ยแป้ง (ล้านไร่) พื้นที่สำหรับทำพันธุ์ 7.7 0.6 7.1 1.5 (อัตราขยายพันธ์ 1:5)

การจัดการกิ่งพันธุ์ พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง 7.7 ล้านไร่ พื้นที่เสียหาย 0.6 ล้านไร่ ยังมีพื้นที่ทำพันธุ์ 7.1 ล้านไร่ เกษตรกรต้องการพันธุ์เพียง 1.5 ล้านไร่ “มีพันธุ์เพียงพอ” แต่ต้องบริหารจัดการไม่ให้นำพันธุ์ที่มีเพลี้ยแป้งเข้าทำลายไปทำพันธุ์ต่อ ต้องคัดเลือกกิ่งพันธุ์ที่ไม่มีเพลี้ยแป้งเข้าทำลาย ฉีดพ่นกิ่งพันธุ์ด้วยสารเคมีก่อนการเคลื่อนย้ายและแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูกทุกครั้ง การบริหารจัดการโดยการ “รณรงค์และศูนย์บริหารจัดการพืชชุมชน”

การรณรงค์ สร้างแกนนำ โดยคัดเลือกเกษตรกร 40 ราย ที่ปลูกมันสำปะหลังและมีประสบการณ์การเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ในพื้นที่ของตนเอง ให้ความรู้แกนนำ แกนนำดูแลเครือข่ายในพื้นที่ข้างเคียง โดยมีหน่วยปฏิบัติการพิเศษระดับตำบลให้การสนับสนุน การป้องกันไม่ให้เกิดระยะยาว ใช้ศูนย์บริหารจัดการพืชชุมชน และหมู่บ้านต้นแบบ

4 8 1 2 7 3 6 5 มาตรการเร่งด่วน/การรณรงค์ 1 จุดรณรงค์ คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกร 40 คนที่ได้เคยมีการระบาดเพลี้ยแป้งในพื้นที่ตนเอง 1 กำหนดแนวทาง ข้อมูลบ้านต้นแบบ 2 7 เตรียมอุปกรณ์ สำหรับ การฉีดพ่นยา การแช่ท่อนพันธุ์ การใช้หน้ากาก ถุงมือ จัดตั้งศูนย์บริหารและจัดการศัตรูพืชชุมชน 40 คนต่อ 1 จุด รณรงค์ ต่อวัน 3 6 สรุปสถานการณ์ ในวันรณรงค์ โดยเกษตรกร 40 ราย และผู้เกี่ยวข้อง 3 วันรณรงค์ -อบรม -ปฏิบัติการจริง 4 ครั้ง 40 คน เทคโนโลยีที่ใช้ -ไถทิ้ง -ตัดยอด -พ่นสารเคมี -แช่ท่อนพันธุ์ การบันทึกข้อมูล 1. พื้นที่ปลูก 2. พื้นที่การระบาด 3. พื้นที่รณรงค์ 4. วิธีการรณรงค์ ตำบลละ 2 จุด ๆ ละ 40 ราย 4 5

output แปลงมันสำปะหลังที่ได้รับการป้องกันกำจัด จัดตั้งศูนย์บริหารจัดการศัตรูพืชชุมชน แนวทางหมู่บ้านต้นแบบ และการพัฒนาเพื่อเป็นวิสาหกิจชุมชน เกษตรกรได้รับความรู้ 894 จุด x 40 คน = 35,760 ราย พื้นที่ 600,000 ไร่

องค์ประกอบของศูนย์บริหารจัดการศัตรูพืชชุมชน 1 572 ศูนย์ อยู่ใน -เขตจังหวัดรุนแรง 20 จังหวัด 447 ศูนย์ -เขตเฝ้าระวัง 25 จังหวัด 125 ศูนย์ 1. แปลงเรียนรู้การพยากรณ์ 2. แปลงเรียนรู้การแช่ท่อนพันธุ์ 3. แปลงเรียนรู้การป้องกันการระบาดของศัตรูพืช ศูนย์ปฏิบัติการศัตรูพืชชุมชน 30 คน ต่อ ศูนย์ฯ 4 ผลิตและขยาย ศัตรูธรรมชาติ และสารชีวภัณฑ์ ถ่ายทอดความรู้ ให้แก่เกษตรกร อย่างต่อเนื่อง 2 -บริการจัดการแช่ท่อนพันธุ์ บริการท่อนพันธุ์ โดยจัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน เป้าหมาย 572 ศูนย์ x 30 ราย = 17,160 ราย 3

เกษตรกรที่ได้รับประโยชน์ในปีแรก โดยตรง ประมาณ 53,000 ราย ( 35,760 + 17,160 ราย) พื้นที่ระบาด 600,000 ไร่ (พื้นที่) และพื้นที่เฝ้าระวัง ...... ไร่