สรุปผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการเกษตรปี 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การศึกษาดูงานด้านการเพาะเลี้ยงและการส่งเสริมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ผู้นำหมู่บ้านและเกษตรกรหมู่บ้านเป้าหมายสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ครั้งที่ 1) ภายใต้โครงการพัฒนาการเลี้ยงปลาในชนบทแขวงจำปาสักและแขวงเซกอง.
โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2553 (ประชาคมระยะที่ 1) จังหวัดนราธิวาส.
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประชุมประจำเดือนมิถุนายน 2554 โดย.. นายเดชา กิตติตระกูล.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ITกับโครงการ Food safety
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
นำเสนอโดย : นางนันทิยา วาสุกรี
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคลพัฒนา อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมการเกษตรปี 2553 โครงการส่งเสริมการเกษตรปี 2553 นายอิทธิพล เชียงพรหม หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดลำพูน

กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรปี 53 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรปี 53

การจัดเก็บบันทึกข้อมูลระบบสารสนเทศ กลุ่มสถาบันเกษตรกร 3 กลุ่มปี 2553 การจัดเก็บบันทึกข้อมูลระบบสารสนเทศ กลุ่มสถาบันเกษตรกร 3 กลุ่มปี 2553 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวนทั้งหมด 530 กลุ่ม อยู่ในระดับดี 188 กลุ่ม ปานกลาง 286 กลุ่ม ปรับปรุง 56 กลุ่ม กลุ่มยุวเกษตรกร จำนวนทั้งหมด 47 กลุ่ม ระดับดี 47 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จำนวนทั้งหมด 130 กลุ่ม ระดับดี 66 กลุ่ม ปานกลาง 50 กลุ่ม ปรับปรุง 31 กลุ่ม

ผลการจัดเก็บ ปรับปรุงจัดเก็บบันทึกได้ตามกำหนดระยะเวลาและเกินปริมาณเป้าหมายที่ได้กำหนด ปี 2553 มีการจัดตั้งกลุ่มเพิ่มขึ้น คือ กลุ่มยุวเกษตรกรเพิ่มขึ้น จำนวน 7 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมอาชีพเพิ่มขึ้น 17 กลุ่ม ทุกอำเภอได้นำข้อมูลสถาบันเกษตรกรขึ้นเว็บไซต์ของอำเภอ ปัญหาอุปสรรค เจ้าหน้าที่มีงานมากแบบจัดเก็บไม่พอ ระบบอินเตอร์เน็ตช้า

ภาพวันอบรมชี้แจงระบบสารสนเทศสถาบันเกษตรกรปี 53

แนวทางการดำเนินการ ขอให้นำข้อมูลนี้ไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานพัฒนาสถาบันเกษตรกรของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและควรมีข้อมูลนี้ไว้ ณ ที่ประจำศูนย์บริการฯ ของตนเอง ปรับปรุง จัดเก็บข้อมูลสถาบันเกษตรกรปี 53 ครั้งต่อไป ตัดยอด ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553 และทำการบันทึกให้แล้วเสร็จภายใน 15 มกราคม 2554 ขอให้อำเภอเตรียมการวางแผนในการดำเนินงานครั้งต่อไป

โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้องค์กรเกษตรกรและเคหกิจเกษตรปี 2553 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้องค์กรเกษตรกรและเคหกิจเกษตรปี 2553 พื้นที่ดำเนินการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านหนองยางไคล ตำบลทาทุ่งหลวง อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองยางไคล อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน

ผลการดำเนินงาน เกิดแหล่งเรียนรู้งานส่งเสริมเคหกิจในจังหวัดลำพูนขึ้น 1 แห่ง มีวิทยากรในท้องถิ่นที่สามารถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มองค์กร จำนวน 10 คน มีหลักสูตรเรียนรู้ เรื่องลำไย 1 เรื่อง เจ้าหน้าที่ได้เรียนรู้เพิ่มสมรรถนะตนเอง เรียน E-Learning ของ กพ. 5 เรื่อง จำนวน 30 คน จบผ่านหลักสูตร 19 ราย เกษตรกร/กลุ่ม ได้เข้ารับการอบรมความรู้ 5 ด้าน (เคหกิจเกษตร)จำนวน 40 ราย นำไปปฏิบัติตาม 10 ราย

ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานมีงบประมาณน้อยกว่าปี 2552 ทำให้บางกิจกรรมลดลง การดำเนินงานมีงบประมาณน้อยกว่าปี 2552 ทำให้บางกิจกรรมลดลง กิจกรรมของกลุ่มมีไม่ต่อเนื่อง ทำให้แหล่งเรียนรู้มี กิจกรรมขาดบางช่วง วิทยากรเฉพาะด้าน ส่วนใหญ่จะเป็นบุคคลเดียวกัน

งานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรปี 2553 งานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรปี 2553 1. โครงการประกวดเค้กลำไย มีผู้ส่งเข้าประกวด 22 ราย (งบจังหวัด) 27 กพ.53 1 ครั้ง 1 วัน

2. โครงการอบรม พัฒนาเค้กลำไย 1 ครั้ง ณ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดลำพูน 2-3 กย.53 ผู้เข้าร่วมอบรม 40 ราย

3. โครงการแปรรูปลำไยสีทอง(โรงเรือน/เตาอบลำไย) 15 โรงเรือน (กำลังดำเนินการ) 4. อบรมเรื่องการแปรรูปลำไยอบแห้งเนื้อสีทอง (งบกลาง) ร่วมกับสาธารณสุขจังหวัดลำพูน 5. อบรมการแปรรูปลำไยเนื้อสีทอง (GTZ) 1 ครั้ง 80 คน 6. สัมมนาศักยภาพผู้นำกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ระดับจังหวัดลำพูน 1 ครั้ง 27 – 30 สิงหาคม 2553 จำนวน 530 คน อบรมดูงานจังหวัดเพชรบุรี (อบจ.ลำพูน)

โครงการส่งเสริมและพัฒนา ยุวเกษตรกรคลื่นลูกใหม่ปี 2553

กิจกรรมถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะกระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร ดำเนินการในกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนเทศบาลจามเทวี อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน งบประมาณ 10,000 บาท เป้าหมาย 30 ราย

23 กุมภาพันธ์ 2553 สมาชิกร่วมโครงการ 30 ราย ชาย 13 คน หญิง 17 คน สมาชิกร่วมโครงการ 30 ราย ชาย 13 คน หญิง 17 คน อาจารย์ที่ปรึกษา 2 ราย อาจารย์กฤษณา ปัญญาสูง อาจารย์ประสาน วงศ์ฝั้น

กิจกรรมที่ถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะ

กิจกรรมที่ดำเนินการตามกิจกรรมถ่ายทอดความรู้

ปัญหา สมาชิกส่วนมากอยู่ระดับประถมปลาย จึงต้องมีการคัดเลือกคณะกรรมการสภายุวเกษตรกรทุกปี บางกิจกรรมไม่ต่อเนื่อง อยู่ในช่วงปิดเทอม งบประมาณมีจำนวนจำกัด ทำให้ไม่ต่อเนื่อง ขาดวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานยุวเกษตรกร

กิจกรรมการศึกษาเรียนรู้กระบวนการ กลุ่มยุวเกษตรกร ดำเนินการในกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนเทศบาลจามเทวี อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน งบประมาณ 10,000 บาท เป้าหมาย 100 ราย

5 มีนาคม 2553 สมาชิกยุวเกษตรกรร่วมกิจกรรม 26 กลุ่ม 172 คน อาจารย์ที่ปรึกษา 26 คน

กิจกรรมการศึกษาเรียนรู้กระบวนการ กลุ่มยุวเกษตรกร กระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร การปลูกพืชผักสวนครัว การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน การทำปุ๋ยอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพ การเลี้ยงจิ้งหรีดในบ่อซีเมนต์ การกำจัดสนิมเหล็กในน้ำ ชมวิดีทัศน์กิจกรรมของกลุ่มยุวเกษตรกรในโรงเรียนเทศบาลจามเทวี

กิจกรรมการศึกษาเรียนรู้กระบวนการ กลุ่มยุวเกษตรกร ปัญหาอุปสรรค สมาชิกยุวเกษตรกรมีความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมมาก ขาดการสนับสนุนงบประมาณ สมาชิกยุวเกษตรกรอยู่ในช่วงเตรียมตัวสอบปลายภาค ข้อเสนอแนะ ควรจัดกิจกรรมการศึกษาเรียนรู้ของกลุ่มยุวเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมควรให้สมาชิกยุวเกษตรกรมีการฝึกปฏิบัติด้วย ควรมีการสนับสนุนงบประมาณมากขึ้น เพื่อให้มีการศึกษาเรียนรู้เพิ่มรายละ 10

สรุปผลโครงการส่งเสริม อาชีพการเกษตรปี 2553 สรุปผลโครงการส่งเสริม อาชีพการเกษตรปี 2553 กิจกรรม การจัดกระบวนการเรียนรู้

วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์กลุ่ม เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไข

ดำเนินการทุกอำเภอ อำเภอบ้านโฮ่ง 15 ราย ทำได้ 25 ราย อำเภอบ้านโฮ่ง 15 ราย ทำได้ 25 ราย อำเภอเมืองลำพูน 17 ราย ทำได้ 20 ราย อำเภอบ้านธิ 15 ราย ทำได้ 15 ราย อำเภอแม่ทา 16 ราย ทำได้ 20 ราย อำเภอป่าซาง 16 ราย ทำได้ 24 ราย อำเภอลี้ 15 ราย ทำได้ 17 ราย อำเภอทุ่งหัวช้าง 15 ราย ทำได้ 15 ราย เวียงหนองล่อง 15 ราย ทำได้ 15 ราย

วิธีการดำเนินงาน โอนงบประมาณให้อำเภอดำเนินการ จัดทำเวทีเรียนรู้และสรุปแผนการดำเนินงานส่งให้จังหวัด

ผลการดำเนินงาน ทุกอำเภอ ดำเนินการตามหลักฐานที่อบรม มีการบรรยายความรู้ เรื่องประโยชน์ ความสำคัญของการรวมกลุ่มและมีการสรุป จัดทำแผนการดำเนินงานส่งจังหวัด

ผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน 1 ตัวเกษตรกรผู้ร่วมโครงการ -สมาชิกส่วนใหญ่ได้ร่วมกันสรุปปัญหา/แนวทางแก้ไขของกลุ่ม -ผู้นำในหมู่บ้านเห็นความสำคัญและร่วมมือเป็นอย่างดี 2. เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน -เมื่อกลุ่มฯมีความเข้มแข็ง ตั้งใจจริง หน่วยงานต่าง ๆ ก็พร้อมให้การสนับสนุน

ข้อเสนอแนะ ตำบล/อำเภอ/จังหวัด ควรมีการติดตามและเสนอของบประมาณจาก อปท. ให้อย่างต่อเนื่อง

สรุปผลการดำเนินงานการ จัดกระบวนการเรียนรู้ ด้านหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2553 ภาคการเกษตร

วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรได้เรียนรู้แนวทางการจัดการฟาร์ม เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในฟาร์มของตนเองตามศักยภาพ ของครัวเรือน งบประมาณดำเนินการ 26,040 บาท เป้าหมาย 217 ราย

ผลการดำเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียง (นายทัศน์ สุทธิกุล) ศูนย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียง (นายทัศน์ สุทธิกุล) ตำบลป่าสัก หมู่ที่ 14 บ้านหนองไซ เป็นจุดถ่ายทอดความรู้ ดำเนินการ 15- 18 มีนาคม 2553 เกษตรกรที่เข้าร่วมกระบวนการฯ 225 ราย จากอำเภอเมืองทั้งหมด วิทยากรจากเครือข่ายศูนย์ฯ 11 คน

สรุปผลการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติปี 2553 ช่วงการเกิดภัย ชนิดภัย อำเภอ ผลการให้ความช่วยเหลือ งบ อปท. (บาท) งบอำเภอ งบจังหวัด งบกลาง 2-6 ตค.2553 อุทกภัย (พายุกิสนา) ลี้ ทุ่งหัวช้าง - 1,619,680 6 มค.2553 15กพ.-มีค. 2553 วาตภัย โรคระบาด ราสีม่วง หอม, กระเทียม แม่ทา บ้านโฮ่ง 9,975 153,678 60,000

สรุปผลการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติปี 2553 ช่วงการเกิดภัย ชนิดภัย อำเภอ ผลการให้ความช่วยเหลือ งบ อปท. (บาท) งบอำเภอ งบจังหวัด งบกลาง 29 มีค.53 20-30 มีค.53 วาตภัย โรคระบาด (เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาด เมือง 77,864 50,000 - 27 กพ.- 26 พค.53 แมลงศัตรูพืช(เพลี้ยแป้งระบาด) หนองล่อง ขอความช่วยเหลืองบกลางกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ วงเงิน 446,285 บาท

สรุปผลการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติปี 2553 ช่วงการเกิดภัย ชนิดภัย อำเภอ ผลการให้ความช่วยเหลือ งบ อปท. (บาท) งบอำเภอ งบจังหวัด งบกลาง 19 เมย.53 วาตภัย แม่ทา 1,710 - 11-15 พค.53 10,625 16 พค.53 ลี้,แม่ทาป่าซาง 517,330.50

สรุปผลการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติปี 2553 ช่วงการเกิดภัย ชนิดภัย อำเภอ ผลการให้ความช่วยเหลือ งบ อปท. (บาท) งบอำเภอ งบจังหวัด งบกลาง 21-22 มิย.53 พายุฤดูร้อน แม่ทา, ป่าซาง, บ้านโฮ่ง, บ้านธิ, หนองล่อง ขอความช่วยเหลืองบกลางกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ วงเงินน 1,353,779 บาท 25-26 สค.53 อุทกภัย (มินดอลเล) แม่ทา วงเงิน 591,653.25 บาท 7-10 กย.53 แมลงศัตรูพืชระบาด(เพลี้ยกระโดดสี น้ำตาล) 88,560 - รวม 392,412 577,330.50

สภาพน้ำท่วม สภาพหลังน้ำลด

สรุปผลโครงการสายใยรัก แห่งครอบครัวปี 2553 สรุปผลโครงการสายใยรัก แห่งครอบครัวปี 2553 กิจกรรม สนับสนุนปัจจัยการผลิตเกษตรสมบูรณ์เพิ่มพูนสุขภาพ ดำเนินการในพื้นที่ตำบลมะกอก อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน สมาชิก จำนวน 70 คน

วัตถุประสงค์ของโครงการฯ เพื่อให้หญิงมีครรภ์หญิงให้นมลูก มีความรู้ด้านโภชนาการและบริโภคอาหารที่มีคุณค่า เพื่อการผลิตสินค้าเกษตรในครัวเรือน แล้วนำมาบริโภค เพื่อลดรายจ่าย เพื่อให้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้

วิธีการดำเนินงาน ประชุมสมาชิกและเสนอแผนความต้องการ (สร.02) สนับสนุนปัจจัยตามแผนความต้องการ แยกประเภท (แดง เหลือง เขียว) แล้วมอบปัจจัยการผลิต

วิธีการดำเนินงาน ส่งรายชื่อสมาชิกที่เสนอแผนความต้องการไปให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประสานกับเทศบาลตำบลมะกอกและนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรตำบลมะกอก ในการจัดทำแปลงเรียนรู้เพื่อขอสนับสนุนพันธุ์พืชลงในแปลง มีการประเมินผลโครงการฯ ร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรฯและสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดลำพูน หลังการรับเสด็จฯ จัดทำสรุปรายงานผลโครงการฯ ที่ดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2550 ปี 2553 ทุกหน่วยงาน (อยู่ระหว่างดำเนินการ) เพื่อส่งให้หน่วยงานต่าง ๆรับทราบและรายงานกรมส่งเสริมการเกษตรต่อไป

ผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ตัวสมาชิกผู้ร่วมโครงการ สมาชิกได้รับสนับสนุนปัจจัยครบทุกคน เกิดความร่วมมือในการพัฒนาหมู่บ้าน/บ้านของตนเองมากขึ้น มีการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ ท่อน้ำทิ้งในบ้านฯ เกิดการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้น

ผลกระทบ/ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน เจ้าหน้าที่หน่วยงาน * มีการทำกิจกรรมร่วมกันมากขึ้น

ปัญหาอุปสรรค สมาชิกฐานะยากจนและต้องออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่นและสมาชิกบางคนไม่มีเวลาร่วมทำกิจกรรมส่วนรวมและทำให้กิจกรรมไม่ต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะต่อโครงการ ควรขอสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติม เพื่อสนับสนุนกิจกรรมให้ต่อเนื่องทุกปีและให้ครบทุกอำเภอ สำหรับโครงการสายใยรักฯ อีก 7 อำเภอ ให้อำเภอดำเนินการสรุปผลประจำปีเป็นรูปเล่มส่งจังหวัดภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2553 นี้

ขอบคุณครับ