หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
Statement of Cash Flows

การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี ( ตาม มาตรา 56 ทวิ)
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์”
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
เรียน ท่านสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย จำกัด
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
“ สรุปสาระสำคัญของมาตรฐานการบัญชี 2 ฉบับ ที่มีผลบังคับใช้ปี 2554
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
การบริการการจัดเก็บภาษีสรรพากร
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
บทที่ 9 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การขอใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ผู้จัดทำ 1.นางสาวสุพรรษา ภูพวก เลขที่19 ม.4/4
บทที่ 9 เรื่อง งบการเงิน
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
วิชาระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
Creative Accounting
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน

รายงาน การจัดทำรายงาน ( หน่วยที่ 13 ) สอนโดย อาจารย์ บุญผ่อง สายเพ็ชร เรื่อง การจัดทำรายงาน ( หน่วยที่ 13 ) สอนโดย อาจารย์ บุญผ่อง สายเพ็ชร จัดทำโดย นางทิพย์กมล เวชชศาสตร์ นางสาวสุนิษา แสนพันนา นางสาวพนิดา รินหวัน ชั้น ปวส. 1/27 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ระบบบัญชี ปีการศึกษา 2553

ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงาน ระบบบัญชีที่ดีจะต้องมีการจัดทำรานงาน เพื่อให้ทราบความ เคลื่อนไหวของธุรกิจ การจัดทำรายงานนี้ เป็นรายงานทางการเงินของ ธุรกิจ อาจทำขึ้นเมื่อสิ้นระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ตามระยะเวลาที่ธุรกิจจะ นำมาใช้ประโยชน์ ซึ่งผู้วางระบบบัญชีจะต้องพิจารณาในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับรายงาน ดังนี้ กำหนดให้มีรายงานอะไรบ้าง ระยะเวลาที่จะจัดทำรายงาน รายงานเสนอให้ใคร รูปแบบของรายงานเป็นอย่างไร

ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการจัดทำรายงาน (ต่อ) การจัดทำรายงานทางการเงินของธุรกิจ มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลทางการเงิน เสนอต่อฝ่ายบริหารที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจในการวางแผนกการดำเนินงานของธุรกิจ 2. เพื่อข้อมูลให้แก่บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น ผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ ส่วนราชการ และผู้ที่สนใจในธุรกิจ

1.รายงานที่เสนอต่อฝ่ายบริหาร ประเภทของรายงาน รายงานที่ธุรกิจจัดทำขึ้น อาจแบ่งตามประเภทของผู้ใช้ประโยชน์จาก รายงานได้ 3 ประเภท คือ 1.รายงานที่เสนอต่อฝ่ายบริหาร 2.รายงานที่เสนอต่อผู้ถือหุ้นและเจ้าหนี้ของธุรกิจ 3.รายงานที่เสนอต่อทางราชการ 1.1 ฝ่ายบริหารระดับหัวหน้าฝ่ายหรือหัวหน้าแผนก รายงานของฝ่าย บริหารระดับนี้มักจะเป็นรายงานที่เกี่ยวข้องเฉพาะฝ่ายของตน

ประเภทของรายงาน (ต่อ) 1.2 รายงานที่เสนอฝ่ายบริหารระดับสูง เป็นข้อมูลให้ฝ่ายบริหารใช้ในการ ตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินงานของธุรกิจ และยังใช้ในการวางแผนธุรกิจ ในอนาคต ที่สามารถนำไปวิเคราะห์ถูกต้อง ซึ่งได้แก่ 1.รายงานแสดงผลการดำเนินงานของธุรกิจ คือ งบกำไรขาดทุนที่แสดงผล 2.งบกำไรขาดทุน ณ วันสิ้นงวดบัญชี ซึ่งแสดงผลเปรียบเทียบของปีก่อนและปีปัจจุบัน ในงวดบัญชีเดียวกัน 3.งบดุลเปรียบเทียบ ณ วันสิ้นงวดบัญชี ของปีก่อนและปัจจุบัน 4.งบประกอบงบกำไรขาดทุนและงบดุล ซึ่งแสดงยอดเปรียบเทียบในช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีก่อนและปีปัจจุบัน และยอดสะสมจนถึงวันแสดง

ประเภทของรายงาน ( ต่อ ) ประเภทของรายงาน ( ต่อ ) 2. รายงานที่เสนอต่อผู้ถือหุ้นและเจ้าหนี้ของธุรกิจ รายงานที่เสนอต่อผู้ถือหุ้นและเจ้าของธุรกิจ กรณีที่เป็นบริษัท งบการเงินประจำงวดของบริษัทที่ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตได้ตรวจสอบและรับรองแล้ว ซึ่งธุรกิจจะต้องส่งงบกำไรขาดทุน และงบดุลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้น ก่อนวันประชุมสามัญประจำปีของผู้ถือหุ้น ไม่น้อยกว่า 7 วัน ซึ่งตามกฎหมายกำหนดให้มีการประชุมภายใน 120 วัน นับจากวันปิดบัญชี

รายงานที่เสนอต่อทางราชการ รายงานที่ต้องนำส่งต่อทางราชการ เป็นรายงานที่ต้องจัดทำตามกฎหมายกำหนด และนำส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามระยะเวลาที่กำหนด รายงานประเภทนี้จะต้องเป็นรายงานเกี่ยวกับการบัญชีและภาษีอากร จะมีแบบของทางราชการกำหนดไว้ ดังนี้ 3.1 ภ.ง.ด. 1 แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 3.2 ภ.งด. 1 ก แบบยื่นรายการเกี่ยวกับเงินได้และภาษีหัก ณ ที่จ่าย 3.3 ภ.พ. 30 แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มของธุรกิจประเภทที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

รายงานที่เสนอต่อทางราชการ (ต่อ) 3.4 ภ.ธ. 40 แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ สำหรับผู้ประกอบการธุรกิจประเภทที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร 3.5 ภ.ง.ด. 50 แบบยื่นภาษีเงินได้ของบริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร 3.6 ภ.ง.ด. 51 แบบยื่นรายการภาษีเงินได้นิติบุคลกลางปี หรือครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี 3.7 งบการเงิน หมายถึง การจัดทำข้อมูลทางการเงินของธุรกิจ ประกอบด้วย งบกำไรขาดทุน งบดุล งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น

บรรณานุกรม การสอบบัญขีระดับ ปวส. การจัดทำรายงาน www.108 ACC.COM. WWW.r.d.COM ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2552 กลุ่มวิชาการภาษีอากร แนวปฎิบัติทางบัญชี กรมบัญชีกลาง กลุ่มระบบบัญชีภาครัฐ