การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2552 ระหว่างวันที่ มกราคม 2552 ( ข้อเสนอแนะ ) 1. ในการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
สรุปแผน / ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพัทลุง ( ฝ่ายบริหารทั่วไป / กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เสาวณีย์ เปลี่ยนพานิช งานควบคุมโรคติดต่อ

สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554 1.แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย - นพ.สสจ.ชร. ที่ปรึกษา - ผชช.ว. ประธาน - หน.งานที่เกี่ยวข้อง กรรมการ - หน.งานควบคุมโรคติดต่อ เลขานุการ

สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554 2.วิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย และวางแผนการดำเนินงาน - ระดับจังหวัด โดยคณะทำงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน - ระดับอำเภอ โดยผู้รับผิดชอบงานและเครือข่ายที่ เกี่ยวข้อง - มีการประสานงานและสื่อสารกรณีเร่งด่วน ผ่านระบบ Geo chat

สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554 3.จัดหา / สนับสนุนงบประมาณ ตามแผนงานโครงการปี 2554 - โครงการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ง/ป PPA จังหวัด 79,400 บาท - โครงการเร่งรัดพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ง/ป PPA จังหวัด 360,000 บาท - โครงการอบรม SRRT ตำบล ง/ป จาก CUP เพิ่มเติม

สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554 4. ชี้แจงนโยบายและถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ประชุมชี้แจง จนท.สธ. ระดับจังหวัด, อำเภอ/ตำบล - นำเข้าวาระในที่ประชุม กวป. ทุกเดือน - อบรม SRRT ตำบล ครอบคลุมทุกตำบล - ประชุมพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งต้นแบบ (เชียงแสน / แม่ฟ้าหลวง)

รูปกิจกรรมประชุมชี้แจง จนท.สธ. ระดับจังหวัด, อำเภอ/ตำบล

รูปกิจกรรมประชุมพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งต้นแบบ (เชียงแสน / แม่ฟ้าหลวง)

รูปกิจกรรมประชุมพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งต้นแบบ (เชียงแสน / แม่ฟ้าหลวง)

การอบรม SRRT ตำบล

สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2554 5. ติดตามประเมินผล - นิเทศปกติ 2 ครั้ง (เม.ย. / ก.ค.2554) - นิเทศทีมบริหาร - เป็นตัวชี้วัดประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ผู้บริหาร ระดับอำเภอ รอบที่ 2 / 2554

การนิเทศติดตามงานและการประเมินอำเภอ

การนิเทศติดตามงานและการประเมินอำเภอ

ผลการดำเนินงานเชิงปริมาณตามตัวชี้วัด อำเภอประเมินตนเอง (Self assessment) ตามแบบประเมินคุณลักษณะ จำนวน 18 อำเภอ - รอบที่ 1 ผ่านเกณฑ์ 9 อำเภอ ร้อยละ 50 - รอบที่ 2 ผ่านเกณฑ์ 18 อำเภอ ร้อยละ 100

ผลการดำเนินงานเชิงปริมาณตามตัวชี้วัด คุณลักษณะที่ไม่ผ่านเกณฑ์ส่วนใหญ่คือ 1. ความถี่ในการประชุมของคณะกรรมการฯยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ 2. ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลไม่สามารถเพาะเชื้อ แบคทีเรียจากอุจจาระได้

เรื่องที่จะดำเนินการต่อ ผลักดันให้เป็นตัวชี้วัดคำรับรองผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าฯ อบรมฟื้นฟู/ทดแทน เครือข่าย SRRT ตำบล จัดประชุมสรุปผลการดำเนินการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด ประกาศ เชิดชู และให้รางวัล