การสนับสนุนการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) เครือข่ายบริการที่ 4.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสนับสนุนการขับเคลื่อนงานพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) เครือข่ายบริการที่ 4

การบริหารจัดการทรัพยากร แบบบูรณาการในพื้นที่ Goal : ประชาชนในพื้นที่ DHS ได้รับการดูแลสุขภาพ แบบเบ็ดเสร็จและต่อเนื่อง Commissioning Service plan ประชาชนทุก ครัวเรือนมีหมอใกล้ บ้านใกล้ใจ(ประจำ ครอบครัว) ดูแล สุขภาพถึงบ้าน เมื่อ เกินความสามารถจะ ปรึกษาและประสาน ส่งต่อ-รับกลับ และ ดูแลต่อเนื่อง เติมคน + เพิ่มศักยภาพ ผู้นำ CUP แพทย์ FM นักกายภาพ /นักจิตวิทยา/ นักกิจกรรมบำบัด แพทย์แผนไทย นักโภชนาการ DHS เข้มแข็ง (รพ.-สสอ.-รพ.สต.-อปท- NGOs ) CBL, DHSA, PCA Technology MIS Electronic Fa. folder NP, ทันตาภิบาล , (Option) งบ เหมาจ่าย รายหัว PCU/รพ.สต คุณภาพ ศูนย์แพทย์เวชครอบครัวและชุมชน (เขตเมือง/เทศบาล) คลินิกชุมชนอบอุ่น ให้เติมคำว่า เทคโนโลยีการสื่อสาร MIS เพื่อเป็นเครื่องมือให้ ปชช. ได้รับการดูแลเบ็ดเสร็จ/ต่อเนื่อง ได้ทุกที่ทุกเวลา (on smartphone, หรือแบบ Delivery in hand) กองทุนสุขภาพ ตำบล กองทุน อบจ-สปสช. งบพัฒนาคุณภาพ QOF PPE/P4P Dent TTM งบฟื้นฟูฯ การบริหารจัดการทรัพยากร แบบบูรณาการในพื้นที่

กรอบงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงาน บริการปฐมภูมิ ปี 2557 (37 บาท/ปชก.UC) งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ PP (20 /ปชก.ทุกสิทธิ์) 1 งบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์ คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ( 32 บ./ปชก.UC) 2.งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ ( 5 บ./ปชก.UC) บริหาร โดย สปสช.เขต 106,847,360 บาท (20 /ปชก.ทุกสิทธิ์) บริหารโดย สปสช.เขต 105,375,694 บาท ( 32 บ./ปชก.UC) บริหารระดับประเทศ. (1 บ./ปชก.UC) บริหารโดย สปสช.เขต 13,088,116 บาท ( 4บาท/ปชก.UC) รวมงบจ่ายตามตัวชี้วัด บริหารโดย สปสช.เขต 212,223,054 บาท 1.แนวทางการจ่ายเงิน 2.ตัวชี้วัดพื้นที่ แนวทางการสนับสนุนงบ อปสข. ที่มา : คู่มือบริหารกองหลักประกันสุขภาพ ปี 2557 เล่ม 1

งบตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ปี 2557

ความเป็นมา ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และหลักเกณฑ์วิธีการเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2557 ส่วนที่ 1 บริการผู้ป่วยนอกทั่วไปหน้า 5 ข้อ 11

ขั้นตอนการอนุมัติดำเนินการ คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ ระดับเขต คำสั่ง สป. 2463/2556 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2556 การประชุมคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำข้อเสนอ การบริหารงบ/ตัวชี้วัด พื้นที่ 1) วันที่ 12 -13 กันยายน 2556 ประชุมผู้แทนคณะทำงานพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิเขต ครั้งที่ 1 / 57 2) วันที่ 18-19 พฤศจิกายน 2556 ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พิจารณาแนวทาง PP และ QOF PP ปี 2557 3) วันที่ 19-20 พฤศจิกายน 2556 ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 และ พิจารณาแนวทาง PP และ QOF PP ปี 2557 และคณะทำงานพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพ ชุมชนที่ยั่งยืน ระดับเขต พิจารณาแนวทาง PC และ QOF ปี 2557

องค์ประกอบตัวชี้วัด (QOF : Quality and Outcome Framework ) 1. การบริหารงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพ และผลงานบริการปฐมภูมิ (QOF : Quality and Outcome Framework ) องค์ประกอบตัวชี้วัด ประกอบด้วยตัวชี้วัด 4 ด้าน กำหนดน้ำหนักคะแนนในแต่ละด้าน กำหนดตัวชี้วัดกลางในด้านที่ 1-3 พื้นที่สามารถเพิ่ม ตัวชี้วัดพื้นที่ ได้ทั้ง 4 ด้าน โดย ด้านที่ 1-3 เลือกจาก Shopping list (ตามที่กำหนด) ด้านที่ 4 พื้นที่กำหนดเอง กรอบตัวชี้วัด1000 คะแนน ตัวชี้วัดด้านที่ 1 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (400 คะแนน) ตัวชี้วัดกลาง 3 ข้อ ตัวชี้วัดพื้นที่.... ตัวชี้วัดด้านที่ 2 การจัดบริการปฐมภูมิ (300 คะแนน) ตัวชี้วัดกลาง 4 ข้อ ตัวชี้วัดพื้นที่..... ตัวชี้วัดด้านที่ 3 การพัฒนาองค์กร (200 คะแนน) ตัวชี้วัดกลาง 2 ข้อ ตัวชี้วัดด้านที่ 4 ตอบสนองปัญหาพื้นที่ (100 คะแนน) ที่มา : คู่มือบริหารกองหลักประกันสุขภาพ ปี 2557 เล่ม 1 หน้า 51

หมายเหตุ : คะแนนรวม 1000 คะแนน สรุปตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ปี 2557 ตัวชี้วัดเขต 3 ข้อ ( อปสข.เขต 4 สระบุรี 25 พ.ย.56) ตัวชี้วัดด้านที่ 1: คุณภาพและผลงานการจัด บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (400คะแนน) ตัวชี้วัดด้านที่ 2: คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ (300 คะแนน) ตัวชี้วัดกลาง 1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 1.2 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12สัปดาห์ 1.3 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี 2.1 สัดส่วน OP ปฐมภูมิ /รพ. 2.2 อัตราการรับเข้ารักษาในโรงพยาบาลจากโรคหืด 2.3 อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น 2.4 อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัดพื้นที่ ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 (ปี 2557) ตัวชี้วัดพื้นที่ - ตัวชี้วัดด้านที่ 3: คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการ ระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ (200 คะแนน) ตัวชี้วัดด้านที่ 4: คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ (100 คะแนน) 3.1 ร้อยละประชาชนมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจดูแล 3.2 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน 4.1 มีผลงาน R2R อย่างน้อย CUP ละ 1 เรื่อง 4.2 ร้อยละของประชาชนอายุ 35ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง QOF 2557 หมายเหตุ : คะแนนรวม 1000 คะแนน

แนวทางการจ่ายเงิน งบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพ และผลงานบริการปฐมภูมิ หลักการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลงานอย่างแท้จริง และมี ประสิทธิภาพสอดคล้องเหมาะสมกับต้นทุนการพัฒนา ที่มา แนวทางการจ่ายแบบเดิมจ่ายตาม อัตรา : ปชก. ตามค่าคะแนน เมื่อวิเคราะห์ ผลงาน งบ : หน่วย พบว่าไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับต้นทุนการพัฒนา ใช้ Template ตัวชี้วัดที่สอดคล้องและเป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น Template ตัวชี้วัด 8 flag shift /service plan ของกระทรวงสาธารณสุข Template ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์สปสช. / TRIS การกำหนดช่วงค่าคะแนนตัวชี้วัด อิงเกณฑ์ กรณีที่เป็นตัวชี้วัดที่เป็นนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข หรือ สปสช. อิงกลุ่ม กรณีที่เป็นตัวชี้วัดที่ไม่ได้มีการกำหนดเกณฑ์/ค่าเป้าหมายระดับประเทศ

แนวทางการจ่ายเงิน งบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพ และผลงานบริการปฐมภูมิ 3. ใช้ข้อมูลที่มีในระบบของกสธ. และสปสช.เป็นหลัก เช่น OP/PP Ind. (21 แฟ้ม) , IP e-claim 4. ใช้ผลงานบริการ 4 ไตรมาส คือ ไตรมาส 3 และ 4 ปี 2556 ไตรมาส 1 และ 2 ปี 2557 (ยกเว้นบางตัวชี้วัดที่มีข้อจำกัด) 5. จ่ายเงินให้หน่วยบริการประจำ อัตราการจัดสรร (บาทต่อประชากร) ตามผลคะแนนตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ภายใต้วงเงินระดับเขต

งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ ปี 2557 หลักการ เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์ สปสช./กสธ./ยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ เครือข่ายที่ 4 ตามคู่มือบริหารกองหลักประกันสุขภาพ ปี 2557 เล่ม 1 หน้า 55 ข้อ (1.2) แนวทางการสนับสนุนงบ แนวทางการจ่ายเงิน สนับสนุน ระดับเขต 1.พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์ 2.สนับสนุนการจัดการแบบมีส่วนร่วม(PCU,CUP,ภาคี เครือข่าย) 3.พัฒนาศักยภาพบริการ(1A4C) รวมเขตเมือง,ชนบท 4.พัฒนาบุคลากร (FM,สหวิชาชีพ) 1. จ่ายตามโครงการ 2. จ่ายตามตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ หมายเหตุ : การพิจารณารายละเอียดของแผนงานโครงการและ ตัวชี้วัดให้เป็นไปตามความเห็นชอบของ สปสช.เขต ร่วมกับ คณะทำงานปฐมภูมิระดับเขต อปสข.เขต 4 สระบุรี : มอบให้ดำเนินการผ่าน CFO เขตตรวจราชการและนำกลับเข้าพิจารณาใน อปสข.ในวันที่ 23 ธันวาคม 2556

กับการบริหารจัดการในภาพรวมของเครือข่ายบริการที่ 4 สปสช.เขต 4 สระบุรี : กับการบริหารจัดการในภาพรวมของเครือข่ายบริการที่ 4

ลำดับ วัน เดือน ปี กรอบงานและกิจกรรม ผลลัพธ์ 1 22-11-56 ประชุม ยุทธ 4 และทีมเลขาฯยุทธ 4 ยุทธ 4 พิจารณาแผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้อง ทีมเลขายุทธ 1-5 สรุปแผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้องเข้าสู่การบริหารจัดการแบบเขตสุขภาพ 2 25-11-56 ประชุม อปสข. 4 พิจารณากรอบงาน กรอบเงิน งบบูรณาการ PP PC P4P และที่เกี่ยวข้อง 3 ธค.56 (สัปดาห์แรก) ประชุม ผู้บริหารในระดับ สสจ.และผู้บริหารเครือข่าย ที่เชื่อมกับการบริหารจัดการในรูปแบบเครือข่ายบริการที่ 4 ทำความเข้าใจภาพรวมการขับเคลื่อนในประเด็นเชิงนโยบายและการกำกับติดตาม 4 ธค.56 (สัปดาห์สองสาม) แต่ละกลุ่ม... เริ่มขับเคลื่อนกระบวนการ ในแต่ละส่วนที่รับผิดชอบ มีการเตรียมการ การบริหารจัดการ และการกำกับติดตาม 5 ธค.56 (สัปดาห์สี่) งบที่เกี่ยวข้อง...จะเร่งโอนให้แล้วเสร็จ (เฉพาะในส่วนที่ดำเนินการได้ทัน เช่น PP ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาขาจังหวัด) งบประมาณพร้อมสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ 6 มีค 57 ติดตามภารกิจร่วม..รวมทั้งปรับกระบวนการทำงานเพื่อสู่เป้าหมาย.ในนามเครือข่ายบริการที่ 4 เพื่อให้การบริหารจัดการ มีประสิทธิภาพ 7 มิย 57 ติดตามผลการดำเนินงาน ในรอบ 9 เดือน และวางกรอบและทิศทางร่วมกันในเชิงยุทธศาสตร์ เครือข่ายบริการที่ 4 เพื่อให้การบริหารจัดการ มีประสิทธิภาพและมีทิศทางการทำงานที่เหมาะสม 8 สค กย 57 สรุปภาพรวมการดำเนินงานปี 56 และกำหนดกรอบการดำเนินงานในปี 2558 ทิศทางการบริหารจัดการในปี 2558 มีรูปธรรมในการดำเนินงานร่วมกันในภาพรวมของเครือข่ายบริการที่ 4

Your DHS development !!!! for Thank you ขอบคุณครับ