ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ICT & LEARN.
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
เปิดโลกนอกกะลา.
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Multimedia การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
การนำเสนอสื่อประสม.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
ความรู้เบื้องต้น การออกแบบ Media.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้โปรแกรมประยุกต์ ด้านการนำเสนองาน
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การเขียนรายงานการวิจัย
การปลูกพืชผักสวนครัว
ซอฟต์แวร์.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
การผลิตคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
มัลติมีเดีย  Multimedia เป็นการนำเอาสื่อหลาย ๆ อย่าง มาสัมพันธ์กัน และ มีคุณค่าที่ ส่งเสริมซึ่งกันและกันอย่างมีระบบ สื่อ อย่างหนึ่งอาจใช้เพื่อเร้าความสนใจ.
ADDIE Model.

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
การสร้างสื่อ e-Learning
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การส่งเสริมความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
หลักการออกแบบของ ADDIE model
CIPP Model : การประกันคุณภาพ

หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates

สื่อมัลติมีเดีย คือ  การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับโปรแกรมซอฟต์แวร์ในการสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เช่น ข้อความ กราฟิก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound)  และวีดิทัศน์ (Video) เป็นต้น และถ้าผู้ใช้สามารถที่จะควบคุมสื่อให้นำเสนอออกมาตามต้องการได้จะเรียกว่า สื่อมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์  (Interactive Multimedia)

กระบวนการผลิตสื่อฯ 1. การเตรียม การออกแบบที่ดีจะต้องทราบถึงจุดประสงค์ว่า คือ อะไรออกแบบเพื่อใครดูให้ดูที่ไหนมีการเผยแพร่อย่างไร 2. การออกแบบ คือ การออกแบบ การเขียนแผนงาน 3. การสร้างโปรแกรม 4. การประเมินผล คือ การประเมินคุณภาพตัวสื่อมัลติมีเดีย, การประเมินการเรียนรู้จากการใช้สื่อมัลติมีเดีย 5. การปรับปรุง และการนำมาเผยแพร่

กระบวนการผลิตสื่อตามแนวคิดวิศวกรรม SDLC : System Development Life Cycle เป็นการออกแบบโดยใช้กรรมวิธีทางวิศวกรรมซอฟท์แวร์ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ คือ การทบทวนความต้องการ การกำหนดคุณสมบัติ/การวางแผน การออกแบบ/พัฒนาระบบ การนำไปใช้ การสนับสนุน และการประเมิน

การพัฒนาสื่อตามแนวคิดของ PDCA. เป็นการพัฒนาโดยอาศัยแนวคิดของการประกันคุณภาพ  ร่วมปรับปรุง  ร่วมวางแผน  ร่วมปฎิบัติ  ร่วมประเมิน

กลยุทธ์การจัดทำสื่อ (1) Evolution Model คือการจัดทำสื่อในรูปแบบที่เสร็จเรียบร้อยทุกๆ ส่วนแล้ว จึงนำไปใช้ ในขณะที่ใช้หากพบข้อผิดพลาดหรือคามต้องการใหม่จะนำมาพัฒนาสื่อนั้นให้มีความสมบรูณ์มากยิ่งขึ้น โดยเรียกว่าเป็น Version ซึ่งอาจใช้หมายเลขเพื่อแสดงถึงลำดับการพัฒนาสื่อ เช่น MathR2-2-04.zip ซึซึ่งเป็นสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ม.ปลายโดยจะออกมาก่อน MathR2-5.zip

หลักการพื้นฐาน เริ่มจากสร้างต้นแบบสื่อ (Prototype) แล้วนำไปทดลองใช้ ซึ่งจะได้ผลลัพท์กลับมา แล้วจึงนำผลลัพธ์นั้นไปปรับปรุงตัวต้นแบบต่อไป

Prototype   

กลยุทธ์การจัดทำสื่อ (1) Incremental Model คือการเพิ่มขึ้น การพัฒนาสื่อแบบนี้ ไม่จำเป็นจะต้องทำทุกส่วนเสร็จแล้วจึงนำออกไปใช้ เช่น สื่อการเรียนรู้มี 3 บท เมื่อทำบทที่ 1 เสร็จแล้วก็นำไปใช้ ต่อมาเมื่อนำบทที่ 2 เสร็จก็นำไปใช้ เมื่อทำบทที่ 3 ก็จะนำไปใช้

องค์ประกอบสื่อการเรียนการสอน บทนำเรื่อง (Title) เป็นส่วนแรกของบทเรียน ช่วยกระตุ้น เร้าความสนใจ ให้ผู้เรียนอยากติดต่อเนื้อหาต่อไป คำชี้แจงบทเรียน (Instruction) ส่วนนี้จะอธิบายเกี่ยวกับการใช้บทเรียน การทำงานของบทเรียน เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้เรียน วัตถุประสงค์บทเรียน (Objective) แนะนำ อธิบายความคาดหวังของบทเรียน รายการเมนูหลัก (Main Menu) แสดงหัวเรื่องย่อย ของบทเรียนที่จะให้ผู้เรียนศึกษา

องค์ประกอบสื่อการเรียนการสอน แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre Test) ส่วนประเมินความรู้ขั้นต้นของผู้เรียน เพื่อดูว่าผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานในระดับใด เนื้อหาบทเรียน (Information) ส่วนสำคัญที่สุดของบทเรียน โดยนำเสนอเนื้อหาที่จะนำเสนอ แบบทดสอบท้ายบทเรียน (Post Test) ส่วนนี้จะนำเสนอเพื่อตรวจผลวัดสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของผู้เรียน บทสรุป และการนำไปใช้งาน (Summary - Application) ส่วนนี้จะสรุปประเด็นต่างๆ ที่จำเป็น และยกตัวอย่างการนำไปใช้งาน

เนื้อหา Section 2. การวิเคราะห์วัตถุประสงค์/เนื้อหาและบริหารจัดการความรู้ การประเมินสื่อ และการปรับปรุง แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีสรสนเทศ