แนะนำ เครือข่ายป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
เศรษฐกิจ พอเพียง.
สำนักงานเกษตรอำเภอปลวกแดง
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
รายงานผลการเยี่ยมพื้นที่ กิจกรรม R2 กีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด วันที่ 14 เมษายน 2555 ณ บ้านปะตาบาระ หมู่ 1 ตำบลปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของดีศรีสำโรง นำเสนอ...โดย นายศรัณยู ยุบล นายทำนุ ร้อยกรอง
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเชิด ชูจิ๋ว
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปรับปรุงมะม่วงคุณภาพดีเพื่อการส่งออกมงคลธรรมนิมิต
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
เกษตรทฤษฎีใหม่.
สภาพทั่วไป ที่ตั้ง  ตำบลพันดอนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอกุมภวาปี พื้นที่เขตตำบลห่างจากอำเภอประมาณ 6 กิโลเมตรและห่างจากศาลากลางจังหวัดอุดรธานีประมาณ.
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
1.3 โครงการชุมชนเข้มแข็ง เตรียมพร้อมป้องกันภัย (นำร่อง) 1 หมู่บ้าน
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แบบประวัติและผลงานดีเด่น “ เกษตรกรดีเด่น ” ปี 2555 สาขา อาชีพทำนา นายวิสา ยางเอน 42 หมู่ 1 ตำบลนาวังหิน อำเภอพนัสนิคม.
การจัดทำแผนชุมชน.
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำ เครือข่ายป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง

ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง ตั้งอยู่ในพื้นที่กิ่งอำเภอเนินขาม และอำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท สภาพพื้นที่ ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ลักษณะพื้นที่แบบที่ราบสลับเนินเขา พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่นอกเขตชลประทาน การเกษตรต้องอาศัยน้ำฝนเป็นหลัก

แผนที่จังหวัดชัยนาท ป่าชุมชนเขาราว เทียนทอง พื้นที่ป่าชุมชน อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติเขาราวเทียนทอง มีพื้นที่มากกว่า 22,000 ไร่ สภาพป่าส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณที่มีไผ่รวกเป็นพืชเด่น มีต้นไม้ขึ้นกระจัดกระจายและหนาแน่นบางบริเวณ แต่ส่วนใหญ่เป็นต้นไม้ขนาดเล็ก ส่วนไม้พื้นล่างมีหนาแน่น เช่น กระเจียว ข่า และสมุนไพร นานาชนิด

ชุมชนรอบป่า มีทั้งสิ้น 14 หมู่บ้าน ใน 4 ตำบล คือ ตำบลเนินขาม, ตำบลกะบกเตี้ย กิ่ง อ.เนินขาม ตำบลเด่นใหญ่, ตำบลไพรนกยูง ของอำเภอหันคา ส่วนใหญ่เป็นชุมชนตั้งใหม่ช่วงหลัง พ.ศ.2500 มีชุมชนดั้งเดิมบ้าง เช่น บ้านหนองหอย บ้านรางจิก ที่มีอายุมากกว่า 100 ปี คนในชุมชนมีวิถีการดำเนินชีวิตแบบภาคกลาง อาชีพหลักคือการทำนา และทำไร่มันสำปะหลัง นอกนั้นคือการรับจ้าง และเก็บหาของป่าขาย ม.10 ม.12 ม.18 ม.13 ม.3 ม.11 ม.9 ม.6 ม.7 ม.8 ม.4 เขาราวเทียน ทอง ม.5 เขากล่ำ ต.ไพรนกยูง ต.กะบกเตี้ย ต.เด่นใหญ่ ต.เนินขาม

ช่วงก่อนปี พ.ศ. 2500 ป่ายังอุดมสมบูรณ์ แต่มีกลุ่มคนจากที่ต่าง ๆ เข้ามาตัดไม้ เข้าโรงเลื่อย และเผาถ่านขาย ทำให้ไม้ที่มีลักษณะดี เปลาตรง เช่น ชิงชัน ประดู่ ถูกตัดออกไปเกือบหมด พ.ศ. 2539 มีชาวบ้านกลุ่มเล็กๆ ในบ้านหมู่ 10 ต.เนินขาม เริ่มรวมตัวกันดับไฟป่าที่เกิดขึ้นเป็นประจำใกล้ๆ บ้าน จากนั้นแนวความคิดนี้ได้ขยายไปทั้งชุมชนโดยการนำของผู้ใหญ่สายชล พวงพิกุล และจากมีเพียงการดับไฟป่าได้เริ่มทดลองเรื่องการปิดป่าในบางช่วงของฤดูเก็บหาหน่อไม้ ปี 2542 ชาวบ้านหมู่ 10 ดำเนินการเรื่องการดับไฟป่าและปิดป่าจนได้ผล ป่าดีขึ้น จึงเกิดความคิดในการชักชวนเพื่อนบ้าน ให้ร่วมจัดการป่า โดยได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากนายอำเภอในสมัยนั้น หลังจากการประชุมสัญจร ก็เริ่มปิดป่าร่วมกันทั้งเขา โดยการสนับสนุนของทางอำเภอ ใช้ที่ประชุมกำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน และมีป่าไม้ส่งตัวแทนมาร่วม และมีการตั้งประธานเครือข่าย ปีแรกทดลองปิดป่าเพียงยี่สิบวัน แล้วเปิดให้เก็บได้อีก ปีที่สอง ทดลองปิดจนหมดฤดูฝน ปี 2544 มีการกำหนดช่วงเวลาที่ชัดเจน และเป็นที่รู้กันว่าจะปิดป่าประมาณวันที่ 20 กันยายน มีการตั้งคณะกรรมการเครือข่ายที่เอาตัวแทนของแต่ละหมู่บ้านเข้ามา ปี 2545 มีกิจกรรมระดมทุนจากภายในและภายนอก เช่น บวชป่า จัดงานผ้าป่าป่าชุมชน และขอทุนจากยูเอ็นดีพี

ป้องกัน สร้าง คนรุ่นใหม่ กระบวนการจัดการ ฟิ้นฟู สร้างความ ร่วมมือ พัฒนาคน องค์กร

ผลที่เกิดขึ้น

ป่าชุมชนเขาราวเทียนทองหนุนเสริมเศรษฐกิจ ระดับชุมชนและท้องถิ่น ผู้ได้ประโยชน์ ชุมชน/พื้นที่ จำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร ประโยชน์ทางตรง (เก็บกิน,เก็บขาย) 14 หมู่บ้าน รอบเขา มากกว่า 1,000 ครัวเรือน 4,129 คน ประโยชน์ทางอ้อม (ซื้อกิน จากตลาดท้องถิ่น) 38 หมู่บ้าน ใน 4 ตำบล มากกว่า 2,600 ครัวเรือน ประมาณ 10,000 กว่าคน ประโยชน์ทางอ้อม (จากผลผลิตที่แปรรูปแล้ว) หน่อไม้ปี๊ป – ตลาดท้องถิ่น, ชัยนาท, อ่างทอง, กรุงเทพฯ เห็ดโคนอัดกระป๋อง – สุพรรณบุรี, กรุงเทพฯ ผักอีนูน, ผักหวาน, น้ำผึ้ง – ตลาดท้องถิ่น และในจังหวัดชัยนาท

ผลผลิตสำคัญ ต่อหนึ่งชุมชน มูลค่าทางเศรษกิจ (บาท) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ผลผลิตที่สำคัญ ปี พ.ศ.2549 บ้านเขาราวเทียนทอง หมู่ 10 ต.เนินขาม กิ่งอ.เนินขาม จ.ชัยนาท ผลผลิตสำคัญ ปริมาณการเก็บหา ต่อหนึ่งชุมชน มูลค่าทางเศรษกิจ (บาท) หน่อไม้ไผ่รวก 7,769 กิโลกรัม 62,152 บาท เห็ดโคน 831 กิโลกรัม 166,200 บาท รวมมูลค่าทางเศรษฐกิจ 228,352 บาท หมายเหตุ : - ปริมาณการเก็บหา เป็นตัวเลขของการเก็บหาเพื่อขายเท่านั้น - ราคาเฉลี่ยของ หน่อไม้ คือ ก.ก.ละ 8 บาท, เห็ดโคน ก.ก.ละ 200 บาท

คนรอบป่าเขาราวเทียนทอง มีสำนึกในการเก็บหาทรัพยากรอย่างยั่งยืน คนรอบป่าเขาราวเทียนทอง มีสำนึกในการเก็บหาทรัพยากรอย่างยั่งยืน

สภาพป่าสมบูรณ์ขึ้น

ป่าชุมชนเป็นที่ยอมรับขององค์กร,หน่วยงานภายนอก

อุปสรรค และ ข้อจำกัด - ยังมีการเข้ามาถือครองที่ของนายทุนเนื่องจากการชี้เขตยังไม่ชัดเจน - การเก็บหาทรัพยารกรโดยคนภายนอก – เก็บหาอย่างทำลาย - ความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในบางพื้นที่ - อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ในการลงโทษผู้กระทำผิด ??

แนวทางต่อไป เริ่มทำเรื่องแปรรูปเห็ด หน่อไม้ และทำเรื่องตลาดจริงจัง งานด้านการรณรงค์ ในหมู่บ้านที่ยังไม่มีส่วนร่วมจริงจัง จัดทำข้อมูลให้ชัดเจน สม่ำเสมอ เพื่อติดตามว่าชุมชนจัดการป่าและใช้ ประโยชน์จากป่าอย่างยั่งยืนได้

ขอบคุณ