โครงการ พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลพัทลุง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
ข้อมูลพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
จากสำนักงานนโยบายและแผน
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
สุธาทิพย์ รุ่งเรืองอนันต์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
๒ ปี.... ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ. ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๑. เพิ่มศักยภาพและขยาย บริการปฐมภูมิ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลพัทลุง

โรงพยาบาลพัทลุง โรงพยาบาลทั่วไป 385 เตียง ระดับทุติยภูมิ ขั้น 2.3 รพท.พัทลุง โรงพยาบาลทั่วไป 385 เตียง ระดับทุติยภูมิ ขั้น 2.3 รับส่งต่อจาก รพช. ในจังหวัดพัทลุง และ รพช.ชะอวด จ. นครศรีธรรมราช

เครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลพัทลุง

ปิรามิดประชากรเครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลพัทลุง 75+ 70-74 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-09 0-04 ชาย หญิง 5 4 3 2 1 1 2 3 4 5 ประชากรทั้งหมด 145,059 คน ชาย 69,715 คน และหญิง 75,344 คน ประชากร UC 104,799 คน = 77.23% ร้อยละ ร้อยละ ที่มา : งานเวชระเบียน รพ.พัทลุง

จำนวนประชากร CUP รพ.พัทลุงปี 2548 - 2551

ร้อยละของประชากร CUP รพ.พัทลุงจำแนกตามสิทธิ ปี 2548 - 2551

โครงสร้างเครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลพัทลุง คณะกรรมการบริหารเครือข่าย รพ.พัทลุง คณะอนุกรรมการพัฒนาบุคลากร คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์รับเรื่องราวร้องทุกข์ คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการ คปสอ.เมือง คปสอ.ศรีนครินทร์ คณะกรรมการ ศูนย์สุขภาพชุมชน คณะกรรมการ ศูนย์สุขภาพชุมชน คณะกรรมการ พัฒนาสาธารณสุขเขตเมือง PCU บ้านนา PCU นาท่อม ศูนย์แพทย์ชุมชน รพ.พัทลุง PCU ลำกะ PCU บ้านไพ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองพัทลุง PCU ปากสระ PCU บ้านสวน

PCU เครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลพัทลุง อำเภอเมือง ศูนย์แพทย์ ชุมชนรพ.พัทลุง PCU นาท่อม PCU บ้านไพ PCU ปากสระ PCU บ้านสวน ศูนย์บริการ สาธารณสุข เทศบาลเมือง พัทลุง สอ.ทุ่งยาว สอ.นาโหนด สอ.ท่าสำเภาใต้ สอ.ลำปำ สอ.หูแร่ สอ.โตระ สอ.ปรางหมู่ สอ.ปากประ สอ.บ้านลำ สอ.ทุ่งลาน สอ.มะกอกใต้ สอ.ควนมะพร้าว สอ.โคกชะงาย สอ.น้ำเลือด สอ.อ้ายน้อย สอ.ควนถบ สอ.หัวถนน สอ.ต้นไทร สอ.เขาแดง สอ.ปลวกร้อน

PCU เครือข่ายบริการสุขภาพโรงพยาบาลพัทลุง อำเภอศรีนครินทร์ PCU บ้านนา PCU ลำกะ สอ.ลำสินธุ์ สอ.บ้านขัน สอ.ลำใน สอ.โหล๊ะขนุน

จำนวนผู้ป่วยนอกและผู้รับบริการเฉลี่ย/วัน ปี 2548-2551 ที่มา : งานเวชระเบียน รพ.พัทลุง

10 อันดับโรคผู้ป่วยนอก ปี 2551 (ตค.50 - พค.51) 10 อันดับโรคผู้ป่วยนอก ปี 2551 (ตค.50 - พค.51) โรค ครั้ง HT DM URI Dyspepsia Pharyngitis Diarrhea Asthma L.B.P Caries of dentin Dizziness 22,850 12,588 6,482 3,778 3,480 3,093 2,871 2,688 2,649 2,510 10 อันดับโรคผู้ป่วยนอกของรพ.พัทลุง ก็ยังเป็นโรครื้อรัง ที่มา : งานเวชระเบียน รพ.พัทลุง

ร้อยละของผู้ป่วย HT, DM และ URI แยกตามภูมิลำเนา ต.ค.50-มิ.ย.51 ที่มา : งานเวชระเบียน รพ.พัทลุง

จำนวนผู้รับบริการเฉลี่ย/วันของ PCU และ สอ.เครือข่าย ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ศูนย์แพทย์ชุมชน 43 39 41 52 ศูนย์ฯเทศบาล 11 12 8 PCU นาท่อม 85 119 111 131 PCU ปากสระ 61 87 90 108 PCU บ้านไพ 92 118 125 PCU บ้านสวน 94 117 124 PCU บ้านนา 107 100 109 PCU ลำกะ 48 50 53 10 อันดับโรคผู้ป่วยนอกของรพ.พัทลุง ก็ยังเป็นโรครื้อรัง ที่มา : งานเวชระเบียน รพ.พัทลุง

โครงการ พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลพัทลุง

วัตถุประสงค์ เพื่อจัดระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิให้เข้มแข็ง สอดคล้อง และเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างเหมาะสมในแต่ละระดับ อย่างสะดวก รวดเร็ว และสอดคล้องกับสภาวะสุขภาพ เพื่อพัฒนาระบบการส่งต่อที่ชัดเจน ระหว่างเครือข่ายบริการ ปฐมภูมิและ รพ.พัทลุง เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ทั้งเครือข่าย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนใช้บริการสุขภาพ อย่างเหมาะสม

Emergency care and home health care โรงพยาบาลพัทลุง OPD รับส่งต่อและให้คำปรึกษา IPD Emergency care and home health care CMU 1 CMU 2 PCU บ้านสวน PCU ปากสระ PCU ศูนย์ฯเทศบาล PCU บ้านไพ PCU นาท่อม PCU บ้านนา PCU ลำกะ ประชาชน

โครงสร้างการดำเนินงาน ประกอบด้วย.. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สสจ.พัทลุง สสอ.เมือง สสอ.ศรีนครินทร์ รพ.พัทลุง อปท. เช่น อบจ.พัทลุง เทศบาลเมืองพัทลุง คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินการ บูรณาการกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับคณะกรรมการที่มีอยู่แล้ว

แผนการพัฒนา พัฒนาระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิให้เข้มแข็ง จัดตั้งและพัฒนา CMU / PCU กระจายผู้รับบริการ พัฒนาและจัดระบบคิวและระบบนัด พัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบข้อมูล เชื่อมต่อและ share ข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย พัฒนาและจัดระบบส่งต่อ-ส่งกลับ สื่อสารประชาสัมพันธ์สร้างความเชื่อมั่น สนับสนุนการมีส่วนร่วม อปท. และชุมชน

ปัจจัยความสำเร็จของโครงการ ความพร้อมของบุคลากรทางการแพทย์ ศักยภาพและความครอบคลุมของ CMU / PCU ประสิทธิภาพของระบบบริการ การจัดการระบบข้อมูล การยอมรับของประชาชนและความร่วมมือของ ชุมชน /อปท.