ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
การดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ฐานข้อมูลพลังงานประเทศไทย
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557
โลกร้อนกับการอนุรักษ์พลังงาน
แผนการพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
จะประหยัด พลังงาน ได้อย่างไร? ถ้ายังไม่รู้ว่า เค้าคิดค่าไฟ เรายังไง???
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
KMUTT ไฟฟ้า จาก แสงอาทิตย์ นาย ชาย ชีวะเกตุ.
ขั้นตอนการจัดทำคำของบประมาณ
สถานการณ์น้ำในเขื่อน กฟผ.
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
ทรัพยากรธรรมชาติ- พลังงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
25 กุมภาพันธ์ 2547 คริส และ ชื่นชม กรีเซน
นโยบายและการกำกับดูแลพลังงาน จากมุมมองของค่าไฟฟ้า
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
ความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต โครงการและกิจกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
กำลังการผลิตไฟฟ้า ตัวเลขปี 2542.
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
แนวทางและแผนการรองรับวิกฤติด้านพลังงานไฟฟ้า ของประเทศไทย
การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
กลยุทธ์ เด็ด รักษ์ พลังงาน สร้าง จิตสำนึก. แหล่ง แหล่ง พลังงานของไทย เมืองไทย เราอุดมสมบรูณ์ทุกอย่าง จริงมั้ย ? จริง แต่ จริง ไม่หมด รู้หรือไม่ ? เราพึ่งพาตัวเองไม่ได้
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550
ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา สำนัก ชลประทานที่ 3 วันพุธที่ 30 ตุลาคม พ. ศ ณ ห้องประชุม 1 สำนัก ชลประทานที่ 3 วาระที่ 3.1 : สรุป รายงาน ผลการเบิกจ่าย.
ข้อเสนอ (ตามเอกสารของ กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้า สภาอุตสาหกรรม)
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ทิศทางการลงทุนธุรกิจพลังงานทางเลือก ของประเทศไทย
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากการผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า สาธารณูปโภคพื้นฐาน คุณภาพชีวิต การพัฒนาเศรษฐกิจ

การเติบโตทางเศรษฐกิจและใช้ไฟฟ้าของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่าง การเติบโตทางเศรษฐกิจและใช้ไฟฟ้าของประเทศ

ประเด็นสำคัญในการพัฒนาโรงไฟฟ้าใหม่ ปัญหาโลกร้อน การตัดสินใจ สิ่งแวดล้อม กระบวนการหาข้อยุติ มลภาวะ การเมือง วิถีชีวิต NIMBY ความรู้/ความเข้าใจ ด้านการผลิตไฟฟ้า การสื่อสารข้อมูล ความไว้เนื้อเชื่อใจ การตอบแทน/เยียวยา การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ พลังงานทดแทน การอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน

สถานภาพปัจจุบัน ระบบไฟฟ้าของประเทศไทย สถานภาพปัจจุบัน ระบบไฟฟ้าของประเทศไทย 4

สัดส่วนการจำหน่ายไฟฟ้าปี 2554 (แยกตามความเป็นเจ้าของ) ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (24 พฤษภาคม 2554) 23,900.2 เมกะวัตต์ IPP 12,081.7 MW 38.4% กำลังผลิตตามสัญญารวม (ณ 31 ธันวาคม 2554) 31,446.7 เมกะวัตต์ กฟผ. 14,998.1 MW 47.7% SPP 2,182.3 MW 6.9% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300.0 MW 1.0% สปป. ลาว 1,884.6 MW 6.0% พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 158,963* ล้านหน่วย หมายเหตุ * ค่าเบื้องต้น

สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ปี 2554 พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 158,963* ล้านหน่วย พลังงานหมุนเวียน 13% ในประเทศ 7% พลังน้ำ 5% ชีวมวล 2% อื่นๆ 0.01% สปป. ลาว 6% พลังน้ำ 6% หมายเหตุ * ค่าเบื้องต้น ก๊าซธรรมชาติ 67 % ถ่านหินนำเข้า 8% น้ำมันเตา 1% ลิกไนต์ 11% มาเลเซีย 0.1% ดีเซล 0.02%

สัดส่วนการจำหน่ายไฟฟ้าปี 2554 ลูกค้าตรง 2% กฟน. 30% กฟภ. 68% รวมพลังงานไฟฟ้าที่ กฟผ. จำหน่าย 154,770* ล้านหน่วย หมายเหตุ * ค่าเบื้องต้น

สัดส่วนการใช้ไฟฟ้าในประเทศปี 2554 (แยกประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า) อื่น ๆ 6% บ้านอยู่อาศัย 22% อุตสาหกรรม 46% ธุรกิจ 16% กิจการขนาดเล็ก 10%

โรงไฟฟ้าของ กฟผ. (31 ธันวาคม 2554) 1. บางปะกง 2. แม่เมาะ 3. พระนครใต้ 4. วังน้อย น้ำพอง โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 6. พระนครเหนือ 7. แม่ฮ่องสอน 8. กระบี่ 9. จะนะ 2 1 6 7 4 3 1. เขื่อนภูมิพล 2. เขื่อนสิริกิติ์ 3. เขื่อนศรีนครินทร์ 4. เขื่อนวชิราลงกรณ โรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่ 5. เขื่อนรัชชประภา 6. เขื่อนปากมูล 7. เขื่อนลำตะคอง 5 9

กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองตามแผน PDP 2010 : ปรับปรุงครั้งที่ 3* ปี พ.ศ. กำลังผลิตสำรอง (%)* 2555 16.0 2556 18.4 2557 17.7 2558 16.4 2559 24.3 2560 21.4 2561 19.6 2562 18.7 2563 18.1 2564 17.8 * มติ กพช. 8 มิ.ย.55, ครม. เห็นชอบ 19 มิ.ย.55 * หากสามารถดำเนินการพัฒนาได้ตามแผน 10 10

ภาพรวมแผนPDP2010 Rev3 (ช่วงปี 2555 – 2573) PDP2010 Rev2 PDP2010 Rev3 รฟ.ถ่านหินสะอาด รฟ.ก๊าซธรรมชาติ รฟ.นิวเคลียร์ รฟ.กังหันแก๊ส โคเจนเนอเรชั่น (SPP / VSPP) พลังงานหมุนเวียน (SPP, VSPP, EGAT) ซื้อต่างประเทศ 7,740 (10โรง) 18,400 (23โรง) 4,000 ( 4โรง) - 8,264 / 55 4,433 10,982 4,400 ( 6โรง) 25,451 (29โรง) 2,000 ( 2โรง) 750 ( 3โรง) 6,374 / 102 9,481 6,572 PDP2010 Rev2 หน่วย : MW PDP2010 Rev3 กำลังผลิตสิ้นปี 2554 กำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ กำลังผลิตที่ปลดออก กำลังผลิตไฟฟ้าสิ้นปี 2573 32,744 53,874 - 17,061 69,557 32,395 55,130 16,839 70,686 จำนวนโรงไฟฟ้าใหม่ตั้งแต่ปี 2555 - 2573 กำลังผลิตไฟฟ้าช่วงปี 2555-2573

ราคาค่าไฟรวมทุกประเภท บาท/หน่วย

ตารางแสดงต้นทุนค่าก่อสร้างและการผลิตไฟฟ้า จำแนกตามประเภทเชื้อเพลิงของโรงไฟฟ้า ลำดับ ประเภทโรงไฟฟ้า (แยกตามเชื้อเพลิง) ต้นทุนค่าก่อสร้าง (เหรียญสหรัฐ/กิโลวัตต์) ราคาต้นทุนการผลิต (บาท/หน่วย) 1. ก๊าซธรรมชาติ 25.21 3.20 2. ถ่านหินนำเข้า 53.83 2.36 3. นิวเคลียร์ 107.29 2.30 4. น้ำมันดีเซล 15.27 11.16 5. ลม N/A 5-6 6. แสงอาทิตย์ 8-9 7. ชีวมวล 2.8-3.5 ข้อมูล ณ ปี 2555 อัตราแลกเปลี่ยน 34 บาท/เหรียญสหรัฐ 13