ปัจจัยผลักดันต่อการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า สาธารณูปโภคพื้นฐาน คุณภาพชีวิต การพัฒนาเศรษฐกิจ
การเติบโตทางเศรษฐกิจและใช้ไฟฟ้าของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่าง การเติบโตทางเศรษฐกิจและใช้ไฟฟ้าของประเทศ
ประเด็นสำคัญในการพัฒนาโรงไฟฟ้าใหม่ ปัญหาโลกร้อน การตัดสินใจ สิ่งแวดล้อม กระบวนการหาข้อยุติ มลภาวะ การเมือง วิถีชีวิต NIMBY ความรู้/ความเข้าใจ ด้านการผลิตไฟฟ้า การสื่อสารข้อมูล ความไว้เนื้อเชื่อใจ การตอบแทน/เยียวยา การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ พลังงานทดแทน การอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน
สถานภาพปัจจุบัน ระบบไฟฟ้าของประเทศไทย สถานภาพปัจจุบัน ระบบไฟฟ้าของประเทศไทย 4
สัดส่วนการจำหน่ายไฟฟ้าปี 2554 (แยกตามความเป็นเจ้าของ) ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (24 พฤษภาคม 2554) 23,900.2 เมกะวัตต์ IPP 12,081.7 MW 38.4% กำลังผลิตตามสัญญารวม (ณ 31 ธันวาคม 2554) 31,446.7 เมกะวัตต์ กฟผ. 14,998.1 MW 47.7% SPP 2,182.3 MW 6.9% สายส่งเชื่อมโยง มาเลเซีย 300.0 MW 1.0% สปป. ลาว 1,884.6 MW 6.0% พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 158,963* ล้านหน่วย หมายเหตุ * ค่าเบื้องต้น
สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ปี 2554 พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ 158,963* ล้านหน่วย พลังงานหมุนเวียน 13% ในประเทศ 7% พลังน้ำ 5% ชีวมวล 2% อื่นๆ 0.01% สปป. ลาว 6% พลังน้ำ 6% หมายเหตุ * ค่าเบื้องต้น ก๊าซธรรมชาติ 67 % ถ่านหินนำเข้า 8% น้ำมันเตา 1% ลิกไนต์ 11% มาเลเซีย 0.1% ดีเซล 0.02%
สัดส่วนการจำหน่ายไฟฟ้าปี 2554 ลูกค้าตรง 2% กฟน. 30% กฟภ. 68% รวมพลังงานไฟฟ้าที่ กฟผ. จำหน่าย 154,770* ล้านหน่วย หมายเหตุ * ค่าเบื้องต้น
สัดส่วนการใช้ไฟฟ้าในประเทศปี 2554 (แยกประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า) อื่น ๆ 6% บ้านอยู่อาศัย 22% อุตสาหกรรม 46% ธุรกิจ 16% กิจการขนาดเล็ก 10%
โรงไฟฟ้าของ กฟผ. (31 ธันวาคม 2554) 1. บางปะกง 2. แม่เมาะ 3. พระนครใต้ 4. วังน้อย น้ำพอง โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 6. พระนครเหนือ 7. แม่ฮ่องสอน 8. กระบี่ 9. จะนะ 2 1 6 7 4 3 1. เขื่อนภูมิพล 2. เขื่อนสิริกิติ์ 3. เขื่อนศรีนครินทร์ 4. เขื่อนวชิราลงกรณ โรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่ 5. เขื่อนรัชชประภา 6. เขื่อนปากมูล 7. เขื่อนลำตะคอง 5 9
กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองตามแผน PDP 2010 : ปรับปรุงครั้งที่ 3* ปี พ.ศ. กำลังผลิตสำรอง (%)* 2555 16.0 2556 18.4 2557 17.7 2558 16.4 2559 24.3 2560 21.4 2561 19.6 2562 18.7 2563 18.1 2564 17.8 * มติ กพช. 8 มิ.ย.55, ครม. เห็นชอบ 19 มิ.ย.55 * หากสามารถดำเนินการพัฒนาได้ตามแผน 10 10
ภาพรวมแผนPDP2010 Rev3 (ช่วงปี 2555 – 2573) PDP2010 Rev2 PDP2010 Rev3 รฟ.ถ่านหินสะอาด รฟ.ก๊าซธรรมชาติ รฟ.นิวเคลียร์ รฟ.กังหันแก๊ส โคเจนเนอเรชั่น (SPP / VSPP) พลังงานหมุนเวียน (SPP, VSPP, EGAT) ซื้อต่างประเทศ 7,740 (10โรง) 18,400 (23โรง) 4,000 ( 4โรง) - 8,264 / 55 4,433 10,982 4,400 ( 6โรง) 25,451 (29โรง) 2,000 ( 2โรง) 750 ( 3โรง) 6,374 / 102 9,481 6,572 PDP2010 Rev2 หน่วย : MW PDP2010 Rev3 กำลังผลิตสิ้นปี 2554 กำลังผลิตไฟฟ้าใหม่ กำลังผลิตที่ปลดออก กำลังผลิตไฟฟ้าสิ้นปี 2573 32,744 53,874 - 17,061 69,557 32,395 55,130 16,839 70,686 จำนวนโรงไฟฟ้าใหม่ตั้งแต่ปี 2555 - 2573 กำลังผลิตไฟฟ้าช่วงปี 2555-2573
ราคาค่าไฟรวมทุกประเภท บาท/หน่วย
ตารางแสดงต้นทุนค่าก่อสร้างและการผลิตไฟฟ้า จำแนกตามประเภทเชื้อเพลิงของโรงไฟฟ้า ลำดับ ประเภทโรงไฟฟ้า (แยกตามเชื้อเพลิง) ต้นทุนค่าก่อสร้าง (เหรียญสหรัฐ/กิโลวัตต์) ราคาต้นทุนการผลิต (บาท/หน่วย) 1. ก๊าซธรรมชาติ 25.21 3.20 2. ถ่านหินนำเข้า 53.83 2.36 3. นิวเคลียร์ 107.29 2.30 4. น้ำมันดีเซล 15.27 11.16 5. ลม N/A 5-6 6. แสงอาทิตย์ 8-9 7. ชีวมวล 2.8-3.5 ข้อมูล ณ ปี 2555 อัตราแลกเปลี่ยน 34 บาท/เหรียญสหรัฐ 13