การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ นายแพทย์ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ รักษาการในตำแหน่งนายแพทย์ทรงคุณวุฒิ ผู้อำนวยการศูนย์บริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ กรมควบคุมโรค

เหลียวหลัง. กรมควบคุมโรคติดต่อ ปัจจุบัน เหลียวหลัง ... กรมควบคุมโรคติดต่อ ปัจจุบัน.. กรมควบคุมโรค กับเขตบริการสุขภาพปลอดโรค ปลอดภัย กรม ต. คือ “National Disease Control Program Manager” ภารกิจหลัก 4 S, 1O : Support, Supply, Supervision & Special services, Operation ขยายขอบเขตงานและแบ่งบทบาท CD, NCD, En-Oc ภารกิจหลัก National Disease Control Authority Technical Agency or Programme Manager Reform / Remains/ Mixtures !

ธรรมชาติของการเกิดโรค Agent Environment Host สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจและระบบบริการสุขภาพ

กระบวนการและเครื่องมือช่วยในการป้องกัน ควบคุมโรคสำหรับสาธารณสุข การเฝ้าระวังและการสอบสวนโรคและภัยสุขภาพรวมทั้งปัจจัยเกี่ยวข้องกับโรค กฎหมาย วิชาการ เทคโนโลยี ความรู้ การปฏิบัติการควบคุมและป้องกันโรค ระบบสุขภาพอำเภอ เชื่อมโยงระบบสุขภาพชุมชน กับระบบสุขภาพของประเทศ

แนวคิดการป้องกันควบคุมโรคระดับบุคคล การป้องกัน 3 ระดับ ลดปัจจัยและวิถีชีวิตเสี่ยง ลดการเกิดโรคและเสียชีวิต ลดความพิการ ประชากรทั้งหมด คนทั่วไป สัมผัสความเสี่ยง มีสัญญาณผิดปกติ เป็นโรค มีอาการ มีสภาวะแทรกซ้อน พิการ/ตาย คัดกรองและป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง รักษาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดความพิการจากโรคและการกลับเป้นซ้ำ ลดปัจจัยเสี่ยง ส่งเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตที่ปลอดภัยในสิ่งแวดล้อม Adapted from Wagner CCM, 1998

“4 ระบบหลัก” ของกระทรวงฯ เชื่อมโยงสู่...ส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ระบบบริการสุขภาพ ระบบสร้างเสริมสุขภาพ ระบบป้องกันและควบคุมโรค ระบบคุ้มครองผู้บริโภคฯ หน่วยงานส่วนกลาง “ระดับประเทศ” แบ่งองค์กรรับผิดชอบแต่ละภารกิจ ระบบบริการสุขภาพ: สป. กรม สบส. กรมการแพทย์ ระบบสร้างเสริมสุขภาพ: กรมอนามัย ระบบป้องกันและควบคุมโรค: กรมควบคุมโรค ระบบคุ้มครองผู้บริโภคฯ: อย. แพทย์แผนไทยฯ กรมต่างๆ หน่วยงานส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาค ทั้ง “ระดับเขต” และ “ระดับพื้นที่” มีการบูรณาการภารกิจหลักทั้ง 4 ภายในหน่วยงาน โดยอาจอยู่ในรูปของกลุ่ม/ฝ่าย หรือมีผู้รับผิดชอบงานชัดเจน สน.บริหารเขต สสจ./ สสอ./ ร.พ./ รพสต.

Expected National Health Authority สนับสนุนพื้นที่ปลอดโรค ปลอดภัย กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ กฎหมาย, การเงินการคลัง, กำลังคน งานสุขภาพโลกและความร่วมมือระหว่างประเทศ ประเมินนโยบายและเทคโนโลยี พัฒนาและจัดการความรู้ พัฒนาระบบกลไกเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาข้อมูลข่าวสาร กำกับดูแลติดตามและประเมินผลของภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน กำหนดและรับรองมาตรฐานบริการต่างๆ ?

ความคาดหวังบทบาทสำคัญการควบคุมโรคของพื้นที่ มีการจัดการและการสนับสนุนที่ดีและเพียงพอ มีระบบเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์และสามารถตรวจจับความ ผิดปกติและออกปฏิบัติการได้ทันการ สามารถประเมิน วิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญของโรค ปัจจัย เสี่ยง และพื้นที่เสี่ยง มีการกำหนดยุทธศาสตร์ มาตรการ กิจกรรมหลัก และเป้าหมาย ในการลดโรค ลดปัจจัยเสี่ยงและโอกาสเสี่ยง มีการปฏิบัติการที่สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ที่ได้กำหนดไว้และ สถานการณ์ในพื้นที่ มีการพัฒนาและควบคุมคุณภาพบริการป้องกันควบคุมโรค มีการกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน มีความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อเป้าหมายร่วม

พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน หลักการและแนวคิด พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเทศควบคุมโรค เข้มแข็ง 5. ผลสำเร็จควบคุมโรคฯ 1. มีคณะกรรมการฯ 2. มีระบบงานระบาดวิทยา 4. มีการระดมทรัพยากร 3. มีการวางแผน จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรคและภัยสุขภาพ บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน ผลักดัน ชี้แนะ สร้างแรงจูงใจ กำกับมาตรฐาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการปกป้องจาก โรคและภัยสุขภาพ

บทบาทกรมควบคุมโรค ต่อเขตสุขภาพ ประสาน ผลักดัน สร้างแรงบันดาลใจ ชี้เป้า ชี้แนะ ให้การปรึกษา สนับสนุนความรู้ เครื่องมือ เทคโนโลยีที่มีประสิทธิผล สนับสนุนปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินและจำเป็น ติดตามกำกับ ควบคุมมาตรฐาน และประเมินผล แลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาร่วมกัน

ขอบคุณครับ