สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี โครงการพัฒนาความร่วมมือ ของภาคีเครือข่าย ในเขตตรวจราชการที่ 6 และ 7 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
รายชื่อแกนนำคณะทำงาน ทีม 1 ยอดชาย กลมศิลา เปรมมาส กันตะโอภาส ประไพ เทียนศาสตร์ สมชาย ศุภผล โสภาพรรณ จิรนิรัติศัย ทีม 2 นิคม กสิวิทย์อำนวย ศุภลักษณ์ แย้มสกุล ดุษณี บุญพิทักษ์สกุล จินตนา แววสวัสดิ์ เพ็ญรุ่ง ฉัตรไชยรัตน์
สภาพปัญหา
หลักการและเหตุผล 6 โรค ได้แก่ วัณโรค เอดส์ ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ อัมพฤกษ์/อัมพาต ไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ 2 พฤติกรรม ได้แก่ลดละเลิกสูบบุหรี่และพฤติกรรมทางเพศ เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของเขตฯ ที่ 6 และ 7 จะดำเนินการแก้ไขให้สำเร็จได้ ต้องเกิดจากการขับเคลื่อนอย่างเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่น ภายใต้การบังคับใช้ ก.ม. รวมทั้งต้องอาศัยความเชื่อมโยงกับเครือข่ายสื่อมวลชนท้องถิ่น การพัฒนาภาคีเครือข่ายด้าน สธ. ถือเป็นบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน สธ. เพื่อมุ่งสู่ Health Thailand
กรอบแนวคิด ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ การพัฒนาความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในเขตตรวจราชการที่ 6 และ 7 เพื่อมาตรฐานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จัดเวทีเสวนา เพื่อเข้าถึง เข้าใจ ภาคีเครือข่าย จัดกระบวนการชุมชนนักปฏิบัติ เพื่อค้นหา Best Practice กระบวนการจัดทำแผนของพื้นที่ การติดตาม กำกับ สนับสนุนทางวิชาการ อย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอนการดำเนินงาน เตรียมการ,สร้างความเข้าใจภายใน,หาข้อมูลความสำเร็จ จัดกระบวนการ CoPs 8 เวที(ตำบล) PDAC จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing) เขตประสบการณ์การทำงาน สำรวจความต้องการด้าน สาธารณสุขฯ ของ อปท. วิเคราะห์การทำงานของ อปท. ,สำรวจแผนฯที่เกี่ยวข้อง ปี 2550 สรุป KA, Best Practice จัดทำแผน ดำเนินงานด้าน สธ. ปี 2551 ประชุมนำเสนอแผนฯ ผล KA ในThank you Party ของสื่อมวลชนและเครือข่าย ติดตามแผน/โครงการ ประเมินผล สรุป คัดเลือกเพื่อขยายผล ปี 2552 การติดตาม กำกับสนับสนุนทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
การดำเนินงานและระยะเวลา กิจกรรม ก.พ. มีค เมย พค มิย กค สค กย เตรียมการฯ จัดเสวนาเครือข่าย 1,6 วิเคราะห์นโยบายฯ CoPs ติดตามกำกับสนับสนุนการจัดทำแผน/โครงการ Thank you Party ร่วม การสื่อสารสาธารณะ 7
ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ร้อยละของเครือข่ายที่เข้าร่วมเสวนา จำนวน KA ของการจัดกิจกรรม จำนวนแผนงานด้านสาธารณสุขปี 2551 ที่เกิดจากการจัดการความรู้
ความเสี่ยง และ แผนการแก้ไข ความเสี่ยง และ แผนการแก้ไข ปัจจัยเสี่ยง ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ความสำคัญ แนวทางการควบคุม กิจกรรมการควบคุม กำหนด การ บุคลากรเครือข่ายไม่เป็นไปตามโครงการ ไม่สามารถให้ข้อมูล วิเคราะห์ แลกเปลี่ยนฯได้ 1 ปรับเปลี่ยนการประสาน -สัมภาษณ์ก่อน -เชิญเป็นวิทยากร -ใช้ผู้มีบารมีช่วย 1-15 กพ กลยุทธ์การสร้างการมีส่วนร่วมไม่มีประสิทธิผล ไม่เกิดภาคีเครือข่าย 2 จ้างวิทยากรภายนอก จ้างอาจารย์จาก มหาวิทยาลัย /NGO ดำเนินการ 1 มีค – 31 พค แผนฯไม่อาจทำได้จริง เสียเวลาและงบประมาณ 3 ติดตาม กำกับ สนับสนุน -จัดเวทีนำเสนอ -ประสานใกล้ชิด 1 กค
ขอให้ความสำเร็จนี้เป็นของขวัญจากก้อนดิน...ถวายในหลวงของเรา ขอขอบพระคุณทุกท่าน ที่กรุณาให้ข้อชี้แนะ ขอให้ความสำเร็จนี้เป็นของขวัญจากก้อนดิน...ถวายในหลวงของเรา