หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
บรรลุ วิสัยท้ศน์ กรม และเป้าหมาย การ ลดโรค
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาเครือข่ายงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช

หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด

วัตถุประสงค์ เพื่อประสานและพัฒนาองค์กรภาครัฐ/ เอกชน ให้มีการดำเนินงานด้านสุขภาพเป็นเครือข่าย

กลุ่มเป้าหมายเครือข่าย หน่วยงานด้านสุขภาพ: สสจ.รพ. CUP สสอ. สอ. รพ.เอกชน คลินิก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: เทศบาล อบต. ศูนย์วิชาการ: ศูนย์อนามัยเขต ศูนย์ สช. ศูนย์วิทย์ฯ สถาบันการศึกษา: มหาวิทยาลัย วิทยาลัยพยาบาล พื้นที่เขตการศึกษา โรงเรียน สื่อมวลชน อื่นๆ: NGO

กลวิธีการดำเนินงาน ประชุมคณะผู้บริหารองค์กรเครือข่ายภายในได้แก่ คปสข.เขต: เพื่อเห็นชอบร่วมกันต่อแนวคิดในการดำเนินงาน ประชุมร่วมกับผู้บริหารเครือข่ายภายนอก ได้แก่ คปสข. นายก อบจ. นายกเทศมนตรี ท้องถิ่นจังหวัด ปศุสัตว์ ผอ.พื้นที่เขตการศึกษา มหาวิทยาลัย ประชาสัมพันธ์จังหวัด ผู้แทนสื่อมวลชน ฯลฯ: เพื่อร่วมคิดร่วมสร้างแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งการคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายการดำเนินงาน ประชุมแกนนำแต่ละเครือข่ายตามพื้นที่เป้าหมาย: เพื่อวิเคราะห์ปัญหา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือถอดบทเรียนจากประสบการณ์การทำงานของแต่ละเครือข่าย

กลวิธีการดำเนินงาน (ต่อ) ประชุมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการควบคุมโรคและภัยสุขภาพแก่เครือข่าย เครือข่ายจัดทำแผนดำเนินงาน/ ดำเนินการตามแผน ติดตามสนับสนุน/ประเมินผล ประชุมวิเคราะห์สรุปผล/ ถอดบทเรียนสุดท้าย

คณะผู้ดำเนินงาน คณะกรรมการอำนวยการ: ได้แก่ คณะผู้บริหารองค์กรเครือข่ายภายใน ประกอบด้วย คปสข.เขต คณะกรรมการร่วม: ได้แก่ ผู้บริหารเครือข่ายภายนอก + คณะผู้บริหารองค์กรเครือข่ายภายใน คณะทำงาน : สคร.+จังหวัด+อื่นๆ

กรอบแนวคิด คณะ กรรมการ ร่วม การดำเนินงาน ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ เครือ ข่าย คณะ ทำงาน กระบวนการ หลากหลาย/ Cop

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ เชิงปริมาณ เช่น - จำนวนครือข่ายที่เข้าร่วมดำเนินงาน/ แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม เชิงคุณภาพ เช่น - แผนงาน/ โครงการของเครือข่ายที่ได้นำไป ปฏิบัติจริง - อื่นๆ อาทิ ความสำเร็จของแผนงานฯ ที่นำไปปฏิบัติ ฯลฯ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดองค์กรเครือข่ายทำงานด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพภายในเขต 11

ขอขอบคุณ สวัสดี//