การสร้างวินัยเชิงบวก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปลี่ยนวิธีคิด…พลิกชีวิตคุณ (Change your thinking…Change your life)
Advertisements

ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ใคร่ครวญ ความอ่อนไหว ชอบไตร่ตรอง ถ้าคุณเลือกรูปนี้
การสร้างวินัยเชิงบวก
การมอบหมายงาน 1. งานเร่งด่วน/สำคัญมาก หัวหน้าต้องทำเอง
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
งานนำเสนอ Akanet Maneenut
จัดทำโดย ด.ญ. สุรางคนา ชัยวิเศษ ม.3/1 เลขที่ 3
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
พัฒนาการด้านสติปัญญาของวัยรุ่น
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
ผู้นำต้องมีวิสัยทัศน์
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
อาจารย์สุพรรนี ภู่กำชัย
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างยั่งยืน
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
การส่งเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กอย่างสร้างสรร
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ชี้ทาง “เรียน อย่างนี้สิจบแน่”
บทที่ 11.
Cognitive of Depressive Disorder
แบบของบุคลิกภาพที่ไม่พึงประสงค์ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
เทคนิคการให้คำปรึกษา
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างวินัยเชิงบวก

2

เข้าใจว่าเด็กคิดและรู้สึกอย่างไร เป้าหมายระยะยาว ความอบอุ่น มีรูปแบบชัดเจน เข้าใจว่าเด็กคิดและรู้สึกอย่างไร การแก้ปัญหา เครื่องมือ แผน วัตถุดิบ กรอบในการจัดการกับปัญหาอุปสรรค ความท้าทาย และความหงุดหงิด

การวางเป้าหมายระยะยาว ปัญหาเฉพาะหน้าคือโอกาสที่เราจะสอนเด็กให้เขาสามารถเป็นอย่างที่เราคาดหวังไว้ในอนาคต เช่น เราสอนให้เด็กสามารถ - จัดการกับความเครียด สื่อสารอย่างเคารพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน จัดการกับความขัดแย้งโดยไม่ใช้กำลัง ใส่ใจกับความรู้สึกของผู้อื่น ทำงานให้สำเร็จโดยไม่ใช้ความรุนแรง

ความรักความอบอุ่น ความปลอดภัยทางอารมณ์และจิตใจ ความรักที่ปราศจากเงื่อนไข การให้ความรักทั้งด้วยวาจาและการกระทำ การคำนึงถึงระดับพัฒนาการของเด็ก การใส่ใจในความต้องการของเด็ก การเอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจความรู้สึกนึกคิดของเด็ก

การให้กฎเกณฑ์รูปแบบที่ชัดเจน การสื่อสารอย่างชัดเจนถึงความคาดหวังของเราต่อเด็ก อธิบายเหตุผลให้เด็กรู้ด้วย ว่าทำไมจึงมีความคาดหวังเช่นนั้น มีคำแนะนำที่แจ่มแจ้ง และคอยช่วยเหลือเพื่อให้เขาทำได้สำเร็จ ส่งเสริมให้เด็กมีความคิดอิสระ เปิดโอกาสให้มีการซักถามและต่อรอง เพื่อให้ได้ข้อตกลงร่วมกัน

พัฒนาการของเด็ก อายุ 5-9 ปี 1. เป็นวัยแรกเข้าโรงเรียน ดังนั้นจึงเริ่มเรียนรู้ที่จะ - จัดการสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง - ทำความรู้จักกับเด็กคนอื่นๆ - ทำตามความคาดหวังของผู้ใหญ่เพิ่ม ทำตามตาราง กิจกรรมประจำวัน 2. จะพบกับความท้าทายใหม่ๆ ในชีวิต จึงต้องเรียนรู้ที่จะ - จัดการกับความขัดแย้ง - สื่อสารกับคนอื่นๆ - มีจุดยืนของตัวเอง - ช่วยเหลือผู้อื่น - เจอกับการรังแกกัน - ซื่อสัตย์ต่อเพื่อน - เป็นคนใจดี

พัฒนาการของเด็ก อายุ 10 -13 ปี กำลังจะเข้าวัยรุ่น มีความเปลี่ยนแปลงมากมายเกิดขึ้นกับเขา ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เป็นการเตรียมตัวเป็นผู้ใหญ่ แม้ว่าเขาจะยังเป็นเด็กก็ตาม ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างเด็กวัยนี้กับผู้ใหญ่ จึงเนื่องมาจาก 1. ต้องการมีอิสระ 2. ความเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 3. ติดเพื่อน 4. สร้างระบบความเชื่อของตนเอง และทำความเข้าใจกับตัวเอง 5.ผู้ใหญ่ยังมองเห็นว่าเขาเป็นเด็กอยู่

พัฒนาการของเด็ก อายุ 14 -18ปี เป็นวัยที่เด็กๆ เกือบจะเป็นผู้ใหญ่แล้ว เขาจะได้เรียนรู้ การให้เกียรติผู้อื่น การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยไม่ใช้ความรุนแรง การสื่อสารสิ่งที่เขารู้สึกและคิดอย่างสร้างสรรค์ การมีจุดยืนของตนเอง และต่อสู้เพื่อตนเองและผู้อื่น นี่เป็นวัยที่ท้าทายมาก ในความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ และเป็นโอกาสให้เราสอนเขาเกี่ยวกับการตัดสินใจที่ดี การแก้ปัญหาความขัดแย้ง และการยอมรับความผิดหวัง

การสร้างวินัยเชิงบวก ไม่ใช่ การสร้างวินัยเชิงบวก คือ การดูแลเด็กแบบปล่อยปละละเลย   การปล่อยให้เด็กๆ ทำอะไรก็ได้ การไร้กฎเกณพ์ แบบแผน ความคาดหมาย ปฏิกิริยาต่อพฤติกรรม หรือทางเลือกอื่นๆ ที่จะใช้ในการลงโทษแทนการตี การแก้ปัญหาระยะยาวที่จะช่วยพัฒนาการมีวินัยในตนเอง   การสื่อสารอย่างชัดเจนถึงความคาดหมาย กฎเกณฑ์ กรอบ การให้เกียรติซึ่งกันและกันการเห็นอกเห็นใจกัน การเคารพตนเองและผู้อื่น สิทธิมนุษยชน การไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา การสอนทักษะในการแก้ปํญหาที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต การเพิ่มความมั่นใจในตนเอง และความสามารถในการดูแลตัวเอง