การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
นโยบายของ สพฐ. ภายในปี พ.ศ.2556 สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัด สพฐ. ต้องน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ในสถานศึกษา มี 5 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการบริหารจัดการศึกษา 2. ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 3. ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4. ด้านพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา 5. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
สพฐ. แบ่งโรงเรียนเป็น 4 ระดับ ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา สถานศึกษาต้นแบบ สถานศึกษาพอเพียง สถานศึกษาทั่วไป
ปี พ.ศ. 2554 เป็นปีมหามงคลเฉลิมฉลองพระชนมายุ ครบ 7 รอบ 84 พรรษา สถานศึกษา 9,999 แห่ง น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละโดยประมาณ 35 ของโรงเรียนในสังกัด (สังกัด สพป.กจ.1 โดยประมาณ 52 โรงเรียน)
ปี พ.ศ.2555 - 2556 1. สถานศึกษาต้นแบบ พัฒนาตนเองจนผ่านการประเมินจาก สพฐ. เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา อย่างน้อยเขตการศึกษาละ 1 แห่ง 2. พัฒนาสถานศึกษาพอเพียง ให้เป็น สถานศึกษาต้นแบบ 3. พัฒนาสถานศึกษาทั่วไปให้เป็นสถานศึกษาพอเพียง จนครบทุกโรง ในสังกัด
นโยบายของ สพป.กจ.1 1. ปี พ.ศ.2554 โรงเรียนในสังกัดอย่างน้อย 52 โรง 1. ปี พ.ศ.2554 โรงเรียนในสังกัดอย่างน้อย 52 โรง (ร้อยละ 35) น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
2. ปี พ.ศ.2554 สถานศึกษาต้นแบบและสถานศึกษาที่ได้รับป้ายสถานศึกษา พอเพียงจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ - โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม - โรงเรียนบ้านท่าทุ่ม - โรงเรียนบ้านหนองไผ่ - โรงเรียนบ้านหนองสามพราน - โรงเรียนสมาคมนักเรียนเก่าราชินี ได้รับการพัฒนาและผ่านการประเมินจาก สพฐ. ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา
สถานศึกษาทั่วไปที่เหลืออีก 96 โรงเรียน (ร้อยละ 65) 3. ปี พ.ศ.2555 -2556 สถานศึกษาต้นแบบช่วยพัฒนา สถานศึกษาทั่วไปที่เหลืออีก 96 โรงเรียน (ร้อยละ 65) ให้เป็นสถานศึกษาพอเพียง