สื่อสารความเสี่ยงแห่งอาเซียนสำหรับผู้ฝึกสอนหรือพี่เลี้ยง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง : สิทธิมนุษยชน ความยุติธรรมทางสังคม และการปกครองโดยหลักนิติธรรม จัดโดย สถาบันเพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย และ ศูนย์สันติภาพและความขัดแย้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด อย่างมืออาชีพ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ความร่วมมือระหว่างประเทศ ACMECS และ MBDS
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ระบบเครือข่ายข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหารระหว่างประเทศ
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อสารความเสี่ยงแห่งอาเซียนสำหรับผู้ฝึกสอนหรือพี่เลี้ยง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สื่อสารความเสี่ยงแห่งอาเซียนสำหรับผู้ฝึกสอนหรือพี่เลี้ยง (ASEAN Risk Communication Training of Trainers Workshop) ดร. พาหุรัตน์ คงเมือง ทัยสุวรรณ์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค วันที่ 6 มีนาคม 2556 โรงแรมอมารี ดอนเมือง กรุงเทพ

สมาคมประชาชาติแห่งอาเซียน ได้ก่อตั้ง The ASEAN Risk Communication Resource Centre (RCRC) สำนักงานอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย มีบทบาทความรับผิดชอบในการจัดทำหลักสูตรและฝึกอบรมด้านการสื่อสารความเสี่ยงแห่งอาเซียนสำหรับผู้ฝึกสอนหรือพี่เลี้ยงแก่บุคลากรของประเทศสมาชิก วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติงานทางด้านสาธารณสุขได้รับทราบการสื่อสารความเสี่ยงในสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งประเด็นทางด้านนโยบายยุทธศาสตร์และแผนชาติที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารความเสี่ยงในสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ทางด้านโรคติดต่ออุบัติใหม่ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค (Asia Pacific Strategy for Emerging Diseases) รวมทั้งกฎอนามัยระหว่างประเทศปี 2548 (International Health Regulations 2005)

การประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการสื่อสารความเสี่ยงแห่งอาเซียนสำหรับผู้ฝึกสอนหรือพี่เลี้ยง (ASEAN Risk Communication Training of Trainers Workshop) จัดขึ้นที่สถาบันบริหารจัดการทางด้านสุขภาพและสาธารณสุข (Institute for Health Management, Ministry of Health Malaysia) ระหว่างวันที่ 17-19 ธันวาคม 2555 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเชีย กระทรวงสาธารณสุข ประเทศมาเลเซียได้เชิญผู้เชี่ยวชาญทางด้านสาธารณสุข และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการสื่อสารสาธารณสุขจากกระทรวงสาธารณสุขประเทศสมาชิกเพื่อเข้าร่วมประชุม มีผู้แทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมประชุมฯ 8 ประเทศๆ ละ 2 คน ยกเว้นผู้แทนจากประเทศมาเลเซีย มีผู้แทนจากรัฐต่างๆ เข้าร่วมด้วย (ไม่มีผู้แทนจากประเทศเวียดนาม และประเทศสิงคโปร์) และมีผู้แทนจากสำนักงานเลขาธิการอาเซียน รวมผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ทั้งหมด กว่า 50 คน

ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานทางด้านสื่อสารความเสี่ยงฯ ของประเทศไทย ประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมฯ การดำเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ

ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานทางด้านสื่อสารความเสี่ยงฯ ของประเทศไทย ประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมฯ การดำเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ

Thailand Experiences in Managing Health Crisis Kuala Lumpur, MALAYSIA 17-19 December 2012 Dr. Pahurat K. Taisuwan Department of Disease Control, Ministry of Public Health, Thailand

Thailand more concern about public health emergency [World Health Organization, 2005, 10-11]; for examples: 1) Severe outbreak of Cholera or severe diarrhea, Dengue hemorrhagic fever 2) Emerging Infectious diseases, i.e., SARS, Bird flu 3) Bioterrorism agents, i.e., anthrax, botulin and smallpox 4) Chemical agents, for instance ricin, phosgene, and sarin 5) Mass trauma , for instance explosions/blasts, burns, and injuries 6) Natural disaster, for instance storms, floods, and earth quakes 7) Radiation emergencies.

During the past ten years, Thailand had experience to the natural infectious diseases outbreak and natural disaster; for instance, on 1998, the 1st Food borne botulism from home-canned bamboo shoots there were 13 severe cases with 2 death cases, on 2001, the Anthrax mail hoaxes, more than 200 hoax letters had been send to important people and offices on 2002, SARS outbreak there were 9 probable SARS cases with 2 death case, on 2006 the 2nd Food borne botulism from home-canned bamboo shoots 163 peoples got sick, 56 severe cases with no death case,

on 2004-09 Avian Influenza H5N1 1st and 2nd round outbreak 25 confirmed cases with 17 died. on 2009-2010, Newly Influenza H1N1 outbreak 25 confirmed cases with 17 died. on 2011, National wide flood, 65 provinces under flood, people 12.8 millions got affected, thousands, died and lost, with economical lost 1.44 million*millions baht on early of 2012, Hand, foot and mouth outbreak October 2012- present, Diphtheria outbreak in Thailand, we found about 40 confirmed cases, 4 death cases

1st Food borne botulism from home-canned bamboo shoots

Figure 8 specific scenarios for Thai HCWs and SRRTs The Anthrax Mail Hoaxes Figure 8 specific scenarios for Thai HCWs and SRRTs

SARS outbreak Thailand MOPH set up a special taskforce at DDC to coordinate the response. This taskforce worked out with concerned DDC and MOPH offices to organize initial response to SARS which included these activities: 1) modifying existing surveillance to accommodate for detection and investigation and community control of SARS, 2) developing technical guideline for hospital infection control, 3) arranging advocacy and orientation meetings with provincial health offices and hospitals in the public and private sectors, 4) organizing medical equipment and supplies system in support of the surveillance and infection control, 5) closely monitoring daily change of international and national SARS situation, and 6) providing information for administrators and the public.

MOPH’s early response to the media was of a reactive approach, trying daily to respond to questions and correct rumors. By mid April, with MOPH’s SARS operation center set up and running, MOPH resorted to an organized proactive approach to the media. All MOPH announcements, advises, situation updates and technical information on SARS were released from formal spokesmen and also posted on MOPH’s SARS web page for public use. This level of managed response to media virtually helped put MOPH in better control with public information demand, and presumably contributed tremendously to stabilization of public sensitivity to the situation.

Figure 3 a botulism patient with mechanical ventilation 2nd Food borne botulism from home-canned bamboo shoots: Thailand revised investigation and response, laboratory diagnosis and case management capacity after bird flu outbreak. Figure 3 a botulism patient with mechanical ventilation Figure 6 Information center for psychosocial support patient’s families and media Figure 7 reference processes from Nan province hospital to higher capacity hospitals

Thailand Flood 2011

Hand,Foot ,and Mouth Disease 2012

For Thailand, significant progress, it has been recognized that the strength of public health infrastructures, especially for surveillance, laboratory verification, case management, risk communication and transparency of information shared between each multi-sector task from the nation level to local level, including building up infectious diseases information system combine to geographical information system.

ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานทางด้านสื่อสารความเสี่ยงฯ ของประเทศไทย ประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมฯ การดำเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ

การประชุมเชิงปฏิบัติการประกอบด้วยหัวข้อหลัก 4 เรื่อง (1) 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคำจำกัดความ แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐาน รวมทั้งการประยุกต์ใช้การสื่อสารความเสี่ยงในงานทางด้านสุขภาพและการสาธารณสุข ประกอบด้วยหัวข้อย่อย 3 เรื่อง คือ ความเสี่ยง ภาวะฉุกเฉิน และการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน แนวคิด และทฤษฎีทางด้านการสื่อสารความเสี่ยง ประสบการณ์ และการบริหารจัดการโรคระบาด 2. ยุทธศาสตร์ในการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ เรื่องเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ที่ใช้ในการดำเนินงานด้านสื่อสารความเสี่ยง ประกอบด้วยหัวข้อย่อย 3 เรื่อง คือ การสนับสนุนการดำเนินงานสื่อสารโดยหน่วยงานภาครัฐต่างๆ การสนับสนุนการดำเนินงานโดยชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มเสี่ยงสูง ความร่วมมือจากนานาชาติ และประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะในกรณีโรคข้ามพรมแดน

การประชุมเชิงปฏิบัติการประกอบด้วยหัวข้อหลัก 4 เรื่อง (2) 3. การสื่อสารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและสาธารณสุข เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ รับทราบและมีทักษะในการสื่อสารความเสี่ยง ประกอบด้วยหัวข้อย่อย 4 เรื่อง คือ การกำหนดเป้าหมายและทำความเข้าใจเป้าหมาย การพัฒนาสารที่จะสื่อ ทักษะพื้นฐานของโฆษก การบริหารจัดการสื่อมวลชนและการนัดหมายสื่อมวลชน 4. จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารความเสี่ยง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ประยุกต์ใช้การสื่อสารความเสี่ยงในงานด้านสุขภาพและสาธารณสุขอย่างเหมาะสม ประกอบด้วยหัวข้อย่อย 3 เรื่อง คือ การประยุกต์ใช้จริยธรรมในการสื่อสารความเสี่ยง การประยุกต์ใช้กฎหมายในการสื่อสารความเสี่ยง นโยบายกับการสื่อสารความเสี่ยง

สรุปบทเรียนจากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ วันที่ 1 (1)

สรุปบทเรียนจากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ วันที่ 1 (2) ผู้แทนแต่ละประเทศได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ภาวะเสี่ยงทางด้านสุขภาพต่างๆ การกำหนดหรือแยกแยะภัยสุขภาพ การบริหารจัดการเมื่อเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางด้านสุขภาพ การสื่อสารความเสี่ยงในสถานการณ์ฉุกเฉินทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ความท้าทายของการสื่อสารในภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข การสร้างความเชื่อถือและเชื่อมั่นให้กับสื่อมวลชน โดยใช้หลัก ECCB, E-Empathy การเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น, C-Concern ตระหนักรู้ถึงปัญหาและความรู้สึกของผู้อื่น, C-Commitment การสร้างความไว้วางใจ, B-Benefit การได้รับประโยชน์ทั้งหน่วยงานราชการ ประชาชน และสื่อมวลชน

สรุปบทเรียนจากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ วันที่ 1 (2) นอกจากนี้ผู้แทนแต่ละประเทศได้เรียนรู้ประสบการณ์ของแต่ละประเทศบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ยกตัวอย่าง - ประเทศฟิลิปปินส์ บริหารจัดการกรณีการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ H1N1 อย่างไร ประสบการณ์ของประเทศมาเลเซีย ในการบริหารจัดการการระบาดของอหิวาตกโรค เป็นต้น ประสบการณ์การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย เป็นประสบการณ์ที่ทุกประเทศให้ความสนใจ เนื่องจากมีการบริหารจัดการที่ดีและสามารถควบคุมป้องกันการระบาดของโรคติดต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สรุปบทเรียนจากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ วันที่ 2 ผู้แทนแต่ละประเทศได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์ในการสื่อสารความเสี่ยง การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ได้รับทราบข้อมูล การวางแผนการสื่อสารความเสี่ยง บทบาทของสื่อสารมวลชน การสื่อสารความเสี่ยงที่ประสบความสำเร็จ รวมทั้งได้เรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการสื่อมวลชน โดยเน้น “ให้ข่าวเท่าที่เราต้องการให้สื่อมวลชนออกข่าว” และสัญญาให้น้อยที่สุด แต่ทำงานให้มากที่สุดก็จะประสบความสำเร็จ และการแบ่งกลุ่มเขียนข่าว เพื่อเสนอให้สื่อมวลชน เป็นต้น

สรุปบทเรียนจากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ วันที่ 3 ผู้แทนแต่ละประเทศได้รับเรียนรู้เกี่ยวกับ โครงสร้างหน่วยงานและการดำเนินงานของศูนย์บริหารจัดการสื่อสารความเสี่ยงในภาวะวิกฤติ (Managing Crisis Communication Centre) ของกระทรวงสาธารณสุข ประเทศมาเลเซีย และได้เยี่ยมชมการดำเนินงานของศูนย์ฯ รวมทั้งได้แบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็นเรื่องการบริหารจัดการสื่อสารความเสี่ยงในภาวะวิกฤติ

ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานทางด้านสื่อสารความเสี่ยงฯ ของประเทศไทย ประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมฯ การดำเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ

คู่มือสำหรับการฝึกอบรมบุคลากรด้านการสื่อสารคามเสี่ยงแห่งเอเชีย

คู่มือสำหรับการฝึกอบรมบุคลากรด้านการสื่อสารคามเสี่ยงแห่งเอเชีย

การดำเนินงานด้านการสื่อสารความเสี่ยงฯ ควรจัดให้มีการอบรมบุคลากรทางการแพทย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องระดับต่างๆ ในประเทศ เกี่ยวกับการสื่อสารความเสี่ยงในภาวะฉุกเฉินทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Echo training) สนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีโอกาสเป็นผู้แทนประเทศไทย เพื่อเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ดังกล่าว เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร การสร้างเครือข่าย และการธำรงไว้ของบทบาทประเทศไทยในอาเซียน เช่น การสนับสนุนงบประมาณ การอนุมัติให้เดินทางไปราชการ เป็นต้น การจัดทำและผลิตสื่อสองภาษา เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นต้น เสนอความคิดเห็นในการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส หรือรัฐมนตรีว่าการสาธารณสุข ในการจัดฝึกอบรมหรือประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกันของประเทศที่มีชายแดนติดต่อเนื่องกัน เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลด้านการระบาดวิทยาและดำเนินงานสื่อสารความเสี่ยงเรื่องโรคและภัยสุขภาพแก่ประชาชนร่วมกัน

Thank you ขอบคุณค่ะ