วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ณ ทางใต้ของเมืองพาราณสี มีหมู่บ้านพราน (คนล่าสัตว์ในป่า)
คำปรีชาญาณของคุณแม่เทเรซา
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
รักทางพุทธศาสนา.
การอยู่ร่วมกันในสังคม
สำหรับผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง
บุญ.
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
มงคลชีวิต อย่านอนตื่นสาย อย่าอายทำกิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน.
จดหมายข่าว KM สำนักวิชาการ
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
หลักธรรมเพื่อชีวิตและสังคม
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
อิทธิบาท ๔ บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
กุ ศ ล กรรมบถ อกุศล กรรมบถ
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
เกราะ ๕ ชั้น และ คุณธรรม ๔ ประการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง สมบัติของผู้ดี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 วิมล งามสงวน โรงเรียนวัดไผ่หลงราษฎร์เจริญ (ศูนย์เรียนรวมโรงเรียนขนาดเล็กในตำบลวังน้ำคู้)
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
ธรรมวิภาค.
วันอาสาฬหบูชา.
การบริหารจิต.
คัดย่อจากจากผลงานธรรมนิพนธ์เรื่องต่างๆ
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว

ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง หมวดที่ ๒ ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง ๑ . สติ คือ ความระลึกได้ ๒ . สัมปชัญญะ คือ ความรู้ตัว

๒ . โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัว ต่อบาป ธรรมเป็นโลกบาล คือ คุ้มครองโลก ๒ อย่าง ๑ . หิริ คือ ความละอายแก่ใจ ๒ . โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัว ต่อบาป

๒ . โสรัจจะ คือ ความเสงี่ยม ธรรมอันทำให้งาม ๒ อย่าง ๑ . ขันติ คือ ความอดทน ๒ . โสรัจจะ คือ ความเสงี่ยม

๒ . กตัญญูกตเวที คือ บุคคลผู้รู้อุปการะที่ ท่านทำแล้วตอบแทน บุคคลหาได้ยากในโลก ๒ อย่าง ๑ . บุพพการี คือ บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน ๒ . กตัญญูกตเวที คือ บุคคลผู้รู้อุปการะที่ ท่านทำแล้วตอบแทน

หมวดที่ ๓ รัตนะ ๓ ๑ . พระพุทธ ๒ . พระธรรม ๓ . พระสงฆ์

คุณของรัตนะ ๓ ๑ . คุณของพระพุทธเจ้า คือ ทรงรู้ดี รู้ชอบ ด้วยพระองค์เองก่อน แล้วสอนให้ผู้อื่นรู้ตาม ๒ . คุณของพระธรรม คือ ย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตก ไปสู่ที่ชั่ว ๓ . คุณของพระสงฆ์ คือ ผู้ปฏิบัติตามคำสอนของพระ พระพุทธเจ้าแล้วสอนให้ผู้อื่นกระทำตาม

โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ ๑ . สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง เว้นจากการทุจริต คือ เว้นจากการประพฤติชั่ว ด้วยกาย วาจา ใจ ๒ . กุสะลัสสูปะสัมปะทา ประกอบสุจริต คือ ประพฤติ ชอบด้วยกาย วาจา ใจ ๓ . สะจิตตะปะริโยทะปะนัง การทำใจให้บริสุทธิ์ คือ การทำใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมอง ใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น

๑ . กายทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางกาย ทุจริต ๓ ๑ . กายทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางกาย ๒ . วจีทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางวาจา ๓ . มโนทุจริต คือ การประพฤติชั่วทางใจ

๒ . วจีสุจริต คือ การประพฤติชอบทางวาจา สุจริต ๓ ๑ . กายสุจริต คือ การประพฤติชอบทางกาย ๒ . วจีสุจริต คือ การประพฤติชอบทางวาจา ๓ . มโนสุจริต คือ การประพฤติชอบทางใจ

อกุศลมูล ๓ ๑ . โลภะ คือ ความอยากได้ ๒ . โทสะ คือ ประทุษร้ายเขา ๓ . โมหะ คือ หลงไม่รู้จริง

กุศลมูล ๓ ๑ . อโลภะ คือ ไม่อยากได้ ๒ . อโทสะ คือ ไม่คิดประทุษร้ายเขา ๓ . อโมหะ คือ ไม่หลงงมงาย

สัปปุริสบัญญัติ ๓ ๑ . ทาน คือ การสละสิ่งของของตนเพื่อประ โยชน์แก่ผู้อื่น ๒ . ปัพพัชชา คือ การบวช เป็นอุบาย เว้น จากการเบียดเบียนกันและกัน ๓ . มาตาปิตุอุปัฏฐาน การปฏิบัติมารดาบิดา ให้เป็นสุข

บุญกิริยาวัตถุ ๓ ๑ . ทานมัย คือ บุญสำเร็จด้วยการบริจาค ทาน ๑ . ทานมัย คือ บุญสำเร็จด้วยการบริจาค ทาน ๒ . สีลมัย คือ บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล ๓ . ภาวนามัย คือ บุญสำเร็จด้วยการเจริญ ภาวนา

หมวดที่ ๔ อคติ ๔ ๑ . ฉันทาคติ คือ ลำเอียงเพราะรักใคร่ ๒ . โทสาคติ คือ ลำเอียงเพราะไม่ชอบ ๓ . โมหาคติ คือ ลำเอียงเพราะเขลา ๔ . ภยาคติ คือ ลำเอียงเพราะกลัว

อธิษฐานธรรม ๔ ๑ . ปัญญา คือ รอบรู้สิ่งที่ควรรู้ ๒ . สัจจะ คือ ความจริง ๓ . จาคะ คือ การเสียสละ ๔ . อุปสมะ คือ ความสงบ

อิทธิบาท ๔ ๑ . ฉันทะ คือ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๒ . วิริยะ คือ เพียรประกอบสิ่งนั้น ๓ . จิตตะ คือ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วาง ธุระ ๔ . วิมังสา คือ หมั่นตริตรองพิจารณา เหตุผลในสิ่งนั้น

พรหมวิหาร ๔ ๑ . เมตตา คือ ความรัก ๒ . กรุณา คือ ความสงสาร ๓ . มุทิตา คือ พลอยยินดี ๔ . อุเบกขา คือ วางเฉย

อริยสัจ ๔ ๑ . ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ๒ . สมุทัย คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ๓ . นิโรธ คือ ความดับทุกข์ ๔ . มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์

มิตรปฏิรูป ๔ ( มิตรเทียม ) ๑ . คนปอกลอก ๒ . คนดีแต่พูด ๓ . คนหัวประจบ ๔ . คนที่ชักชวนไปในทางที่พินาศ

มิตรปฏิรูป ๔ มีลักษณะดังนี้ ๔ . คบเพื่อนเพราะหวังประโยชน์ของตัว คนปอกลอก ๑ . คิดเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว ๒ . เสียให้น้อย คิดเอาให้ได้มาก ๓ . เมื่อมีภัยถึงตัว จึงรับทำกิจ ๔ . คบเพื่อนเพราะหวังประโยชน์ของตัว

คนดีแต่พูด ๑ . นำสิ่งที่ล่วงไปแล้วมาพูด ๒ . อ้างเอาของที่ยังไม่มีมาพูด ๓ . สงเคราะห์ด้วยของที่หาประโยชน์ มิได้

คนหัวประจบ ๑ . จะทำชั่วก็คล้อยตาม ๒ . จะทำดีก็คล้อยตาม ๓ . ต่อหน้าสรรเสริญ ๔ . ลับหลังนินทา

คนชักชวนไปในทางพินาศ ๑ . ชักชวนดื่มน้ำเมา ๒ . ชักชวนเที่ยงกลางคืน ๓ . ชักชวนเล่นการพนัน ๔ . ชักชวนในการละเล่นต่างๆ

มิตรแท้ ๔ ๑ . มิตรมีอุปการะ ๒ . มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓ . มิตรแนะนำประโยชน์ ๔ . มิตรมีความรักใคร่

มิตรแท้มีลักษณะดังนี้ มิตรมีอุปการะ ๑ . ป้องกันเพื่อนผู้ประมาทแล้ว คอยเตือนสติ ๒ . ป้องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนผู้ประมาท ๓ . เมื่อมีภัยเป็นที่พึ่งพำนักได้ ๔ . เมื่อมีธุระ ช่วยออกทรัพย์ให้เกินกว่าที่ออก ปาก

มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๑ . ขยายความลับของตนแก่เพื่อน ๒ . ปิดความลับของเพื่อนไว้เสมือน ความลับของตน ๓ . ไม่ละทิ้งในยามวิบัติ ๔ . แม้ชีวิตก็สละให้เพื่อนได้

มิตรแนะประโยชน์ ๑ . แนะนำไม่ให้ทำชั่ว ๒ . แนะนำให้ตั้งอยู่ในความดี ๓ . ให้ฟังในสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง ๔ . บอกทางสวรรค์ให้

มิตรมีความรักใคร่ ๑ . ทุกข์ ก็ทุกข์ด้วย ๒ . สุข ก็สุขด้วย ๓ . โต้เถียงคนที่พูดติเตียนเพื่อน ๔ . รับรองคนที่พูดสรรเสริญเพื่อน

ฆราวาสธรรม ๔ ๑ . สัจจะ คือ ความจริงใจ ๒ . ทมะ คือ การข่มใจ ๓ . ขันติ คือ ความอดทน ๔ . จาคะ คือ การบริจาค