พระราชกำหนด ๔ ฉบับ: เพื่อฟื้นฟูประเทศหลังน้ำท่วม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
การดำเนินการ เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานให้บริษัทจัดการสามารถดำเนินธุรกิจในการจัดการกองทุนของตนด้วยความโปร่งใส และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ สำนักงานได้ออกประกาศที่
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
การใช้หลักฐานในการขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลในระบบเบิกจ่ายตรงที่ถูกเรียกเงินคืน ที่มา : หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว๓๖๔ ลว. ๖ ต.ค. ๒๕๕๔.
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
เรียน ท่านสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย จำกัด
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผลการสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย วันพุธที่ 21 ธันวาคม 2554 ณ ห้องคริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เรื่องใหม่ที่จะเกิดขึ้น
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
มาตรฐานสากลของระบบคุ้มครองเงินฝาก
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การเขียนโครงการ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชกำหนด ๔ ฉบับ: เพื่อฟื้นฟูประเทศหลังน้ำท่วม และคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ พระราชกำหนด ๒ ฉบับ

พรก. ๔ ฉบับ และสาระสำคัญ (เรียงตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา) พรก. ๔ ฉบับ และสาระสำคัญ (เรียงตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา) พรก. ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๕ (ส่งตีความ) กู้เงิน 350,000 ล้านบาท เพื่อการลงทุนแก้ไขและวางระบบน้ำ ๒. พรก.กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๕ ตั้งกองทุน 50,000 ล้านบาทเพื่อขยายทุนประกันของประเทศ ๓. พรก. การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยพ.ศ. ๒๕๕๕ สินเชื่อดอกเบี้ยถูก 300,000 ล้านบาท โดยธปท. ให้สินเชื่อดอกเบี้ยถูกมาผสมกับสินเชื่อ ธ/พ. พรก. ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ (ส่งตีความ) ให้กองทุนฟื้นฟูฯ มีหน้าที่และรับผิดชอบเกี่ยวกับการชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยเงินกู้ ของหนี้ที่เกิดขึ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 พรก1.เงินกู้ระบบน้ำ 350,000 ล.บ. พรก2. ประกันภัย 50,000 ล.บ. พรก3. สินเชื่อ 300,000 ล.บ. พรก4. กองทุนฟื้นฟู

ความเห็นต่างในภาพรวม รัฐบาล-ฝ่ายค้าน ๔ ฉบับเกี่ยวข้องกัน และ แยกกันไม่ได้ งบประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ (๓๕๐,๐๐๐ + ๕๐,๐๐๐) ล้านบาท ลงทุนแก้ปัญหาสั้นยาว สินเชื่อ ๓๐๐,๐๐๐ ล้านบาท เฉพาะหน้าให้ช่อมบ้านและโรงงาน กองทุนฯ ลดการใช้ดอกเบี้ยในงบประมาณ สร้างความมั่นใจว่าในอนาคตสามารถทำได้โดยมีข้อจำกัดงบประมาณน้อยลง ๔ ฉบับ เร่งด่วน แก้และป้องกันปัญหาเรื่องน้ำท่วม “ฉุกเฉินมีความจำเป็นเร่งด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชน์ที่จะรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ” ฝ่ายค้าน ๑. สภาเปิด เสนอเป็น พรบ.ได้ ๒. พรก.ลงทุนน้ำ ๓๕๐,๐๐๐ ล.บ.ไม่เร่งด่วน ไม่มีโครงการชัดเจน ๓. พรก. กองทุนฯ ไม่เร่งด่วน เพราะหนี้สาธารณะไม่มีปัญหา ฝ่ายรัฐบาล ๑. เสนอเป็น พรบ.จะช้า หลายเดือน ๒. พรก.ลงทุนน้ำ ต้องเร่งสร้างความเชื่อมั่นว่าประเทศพร้อมลงทุน ๓. พรก. กองทุนฯ เป็นส่วนสำคัญเพราะย้ำให้เห็นว่าแก้หนี้สาธารณะที่มีปัญหาและมีช่องให้ใช้งบประมาณได้ในอนาคต

สาระสำคัญ พรก๑. กู้เงินเพื่อลงทุนระบบน้ำ ๓๕๐,๐๐๐ ล้านบาท ๑. มาตรา ๓ ให้ ก.คลังโดยอนุมัติของ ครม. มีอำนาจกู้เงิน... เพื่อนำไปใช้จ่ายในการวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ โดยให้ครม.เสนอกรอบการใช้จ่ายเงินกู้ต่อรัฐสภาเพื่อทราบก่อนดำเนินการ ...มูลค่าไม่เกิน ๓๕๐,๐๐๐ ล้านบาท ...ภายใน..๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ ๒. มาตรา ๔ เงินที่ได้..ให้นำไปใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์.. ๓. มาตรา ๑๐ ให้กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ทำหน้าที่บริหารเงิน ๔. มาตรา ๑๑ ให้สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารและจัดการ.... ข้อคิดเห็น เหมือน พรก. ไทยเข้มแข็งที่ ไม่มีโครงการชัดเจน / อยู่นอกการตรวจสอบตามระบบงบประมาณ / มีจุดรั่วไหล สบน. ต้องออกระเบียบให้แก้ไขปีญหาเดิม และต้องมีเจ้าหน้าที่เพียงพอพอที่จะตรวจสอบ ๒. ได้มีการแยกงบประมาณ เพื่อโครงการ สั้น-ยาว ซึ่งดี แต่ต้องมีองค์กรกำกับดูแลความสอดคล้องและประเมินความก้าวหน้า หากช้าหรือทไม่สำเร็จแล้วน้ำท่วมอีกจะเสียหายมาก

คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ สาระสำคัญ พรก๑ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ สาระสำคัญ พรก๑. กู้เงินเพื่อลงทุนระบบน้ำ ๓๕๐,๐๐๐ ล้านบาท (ส่งตีความ) ประเด็นที่ 1 (184 วรรค 1): เป็นกรณีเพื่อประโยชน์อันจะรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศหรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ เห็นว่า...พรก.ดังกล่าว..เพื่อป้องกันและบรรเทาความเสียหายจากปัญหาอุทกภัย..สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจของประเทศ และ..ต่อประชาชนจำนวนมาก โดยเฉพาะผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรม หากไม่มีมาตรการป้องกันบรรเทา..ที่จะสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน..ผู้ประกอบการอาจตัดสินใจย้าย...ไปอยู่ต่างประเทศ อันอาจจะเป็นผลกระทบต่อความเชื่อมั่นและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศโดยส่วนรวม จึงเห็นว่า พรก. เป็นกรณีเพื่อประโยชน์อันจะรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ และป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 184 วรรค 1 ประเด็นที่ 2 (184 วรรค 2):เป็นกรณีฉุกเฉิน มีความจำแป็นเร่งด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยง เห็นว่า...อุทกภัย 2554 เป็น..ปัญหารุนแรง..จะให้รัฐบาลเพิ่มวงเงินงบประมาณขาดดุลอีก 1.5 แสนล้านบาทไว้ในร่างงบประมาณดังกล่าว (งบประมาณ 2555) ก็ไม่สามารถกระทำได้ การที่รัฐบาลจัดระบบบริหารจัดการน้ำ...ต้องใช้เงิน 350,000 ล้านบาท..จึงเป็นการสร้างความเชื่อมั่นและป้องกันภัยภิบัติในเวลาอันใกล้จะถึง จึงเห็นว่า.. พรก. ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำฯ เป็นกรณีฉุกเฉินอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้

สาระสำคัญ พรก.๒ กองทุนประกันภัยพิบัติ ๑. มาตรา ๔ ให้จัดตั้ง..กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ... ขึ้นใน ก.คลัง เพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ โดย การรับประกันภัย และ ทำประกันภัยต่อ และให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ประกอบธุรกิจวินาศภัย ...มูลค่าไม่เกิน ๓๕๐,๐๐๐ ล้านบาท ...ภายใน..๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๖ ๒. มาตรา ๑๓ ให้ก.คลัง...มีอำนาจกู้เงิน..ส่งเข้ากองทุน..มีมูลค่ารวมกันไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ ล้านบาท ๓. มาตรา ๑๘ ให้มี..คณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ ประกอบด้วย ประธาน..ครม.แต่งตั้ง/ปลัดคลัง/ผอ.สศค./เลขาธิการคณะกรรมการประกันภัย/ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน ๔ คน เป็นกรรมการ ๓. มาตรา ๒๕ ...ในกรณีกองทุนไม่มีความจำเป็น ให้ รมต.คลังเสนอ ครม.เพื่อยุบ ข้อคิดเห็น:ทุกฝ่ายเห็นว่ามีความจำเป็นเร่งด่วน ขณะนี้มีความจำเป็นเพราะ re-insure ไม่พอ ในอนาคตอาจปรับรูปจากกองทุนเป็นองค์กรถาวรหรือเป็นรูปบริษัทจำกัด ทำหน้าที่ re-insure ให้กับประเทศต่อไป วิธิทำจะร่วมกับบริษัทประกันภัยรับกันคนละส่วนซึ่งจะขยายได้ ๑๐ เท่าเป็น ๕๐๐,๐๐๐ ล้านบาท คล้ายการจัดตั้งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูสถาบันการเงิน ดังนั้นจึงต้องระมัดระวังเรื่องความเสี่ยง ที่จะเกิดขึ้นจากการแทรกแซง ประเด็นฝ่ายค้าน: ภารกิจกว้าง ...จะแข่งกับเอกชนหรือ? …เงินจะพอหรือ?

สาระสำคัญ พรก.๓.. สินเชื่อ ๓๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ๑. มาตรา ๓ อุทกภัย หมายความว่า อุทกภัยที่เกิดขึ้นในปี ๒๕๕๔ และในเขตพื้นที่ประกาศเป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติ.. ๒. มาตรา ๔ ให้ มีการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน...ไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ ล้านบาท โดยธนาคารแห่งประเทศไทย และสถาบันการเงินร่วมกันดำเนินการ ๓. มาตรา ๕ ให้ ธปท. มีอำนาจในการให้กู้ยืมเงินแก่สถาบันการเงินเป็นการเฉพาะคราว ...อัตราดอกเบี้ยในการให้กู้ยืม..ร้อยละ ๐.๑ ต่อปี ..การจัดสรรวงเงินเป็นไปตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขของ ธปท. ๔. มาตรา ๖ ให้กู้ยืม...ดังต่อไปนี้ บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนา ที่อยู่อาศัย สถานที่ประกอบอาชีพ หร่อสถานประกอบธุรกิจหรือการค้าของตนในเขตพื้นที่อุทกภัย ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่อยู่ในเขตพื้นที่อุทกภัย ๕. มาตรา ๗... (๒) สถาบันการเงินต้องคิดดอกเบี้ยในการกู้ยืม..ไม่เกินร้อยละ ๓ ต่อปี ๖. มาตรา ๘ ..สถาบันการเงิน..ให้ยื่นคำขอกู้ยืมภายใน ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ ๗. มาตรา ๙ ..สถาบันการเงิน ต้องชำระคืนเงินต้นเงินกู้ให้ ธปท. ภายใน ๕ ปี ..ไม่เกิน ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๑

สาระสำคัญ พรก. สินเชื่อ ๓๐๐,๐๐๐ ล้านบาท (ต่อ) ข้อคิดเห็น:ทุกฝ่ายเห็นว่ามีความจำเป็นเร่งด่วน ถือว่าเป็น พรก.ที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นความร่วมมือของ ธปท. และ ก.คลัง ที่ให้ประโยชน์มากและเร็ว สินเชื่อเป็นเครื่องมือแก้ปัญหาระยะสั้นที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดเพราะ เร็วกว่า งบประมาณ มีสถาบันการเงินดูแลก่อนให้กู้ และมีการติดตาม ในขณะนี้มีความไม่มั่นใจสูง ต้องให้ต้นทุนการลงทุนถูก และมีมากพอ ต้นทุนต่ำ ๓% ให้ต่ำกว่านี้ไม่ได้เพราะถูกกว่าอ้ตราเงินฝาก ประเด็นฝ่ายค้าน: เขียนไว้ว่า ภัยพิบัติ 2554 ใช้กับภาคใต้ไม่ได้เพราะเกิดเมื่อต้นปี 2555 รายใหญ่ที่ได้รับผลกระทบไม่ได้สินเชื่อ เพราะกำหนดไว้ว่าเป็นบุคคลหรือรายเล็ก สินเชื่อ ออมสินยังมียังใช้ไม่หมด..จะไปเอามาจาก ธปท. ทำไม..คือให้ ธปท. ชดเชยดอกเบี้ย แทนงบประมาณ ...พิมพ์แบงค์ และชดเชยโดย ธปท.

ข้อเท็จจริง หนี้สาธารณะที่มาจากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ปี 2554 หนี้คงค้าง 1.14 ลลบ. (10.7% GDP) ชำระดอกเบี้ย 66,540 ล้านบาท ธปท.ไม่ได้ชำระ FIDF1 มาตั้งแต่ปี 2548 (บัญชี ธปท. ไม่มีกำไร) FIDF3 มาตั้งแต่ปี 2552 (บัญชีผลประโยชน์ประจำปีไม่มีกำไร) 2. ปี 2555 มีหนี้ครบกำหนด 340,112 ล้านบาท

สาระสำคัญ พรก.๔.. กองทุนฟื้นฟู ๑. หมายเหตุ ..เหตุผลในการประกาศใช้..คือ...เกิดวิกฤตอุทกภัย..รัฐบาลมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องบูรณะและฟื้นฟูประเทศ ... โดยการจัดให้มีการลงทุน...จะต้องใช้จ่ายเงินจำนวนมากและต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วนหลายแนวทาง ...แนวทางหนึ่งคือ การต้องลดงบประมาณเพื่อชำระดอกเบี้ยเงินกู้ที่กู้มาช่วยเหลือกองทุนฟื้นฟูฯ โดยจำเป็นต้องปรับปรุง..ระบบ..ไม่เป็นภาระต่องบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลอีกต่อไป.. ...การปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ดังกล่าวจะทำให้รัฐบาลมีงบประมาณรายจ่ายไปสมทบกับเงินอื่นที่จะใช้ในการบูรณะ.... ๒. มาตรา ๔ ให้กองทุนมีหน้าที่และรับผิดชอบเกี่ยวกับการชำระคืนต้นเงินกู้และการชำระดอกเบี้ยเงินกู้ ในส่วนที่เกี่ยวกับหนี้เงินกู้ (FIDF ๑ และ FIDF ๓) ๓. มาตรา ๕ ...เงินหรือสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ ให้นำส่ง ...เงินและสินทรัพย์ที่นำส่งตาม มาตรา ๗ (กำไรนำส่งร้อยละ ๙๐/สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจำปี/สินทรัพย์กองทุนตามจำนวนที่ ครม.กำหนด) ๔. มาตรา ๘ ให้ ธปท. มีอำนาจเรียกให้สถาบันการเงินนำส่งเงิน เป็นอัตราร้อยละต่อปีของยอดเงินฝาก...แต่เมื่อรวมกับอัตรานำส่งกองทุนคุ้มครองเงินฝาก...ต้องไม่เกินร้อยละ ๑

สาระสำคัญ พรก. กองทุนฟื้นฟู (ต่อ) ข้อคิดเห็น: ความเห็นต่างกันในกรณีเร่งด่วนหรือไม่ ต้องรอให้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสิน เป็นการแก้ปัญหาหลังจากที่เดิมมีข้อตกลงแล้ว ธปท. ไม่สามารถดำเนินการได้ รัฐบาลไม่ได้อ้างเรื่องลดหนี้สาธารณะ..เพราะไม่ได้ลด..แต่อ้างเหตุ ลดงบประมาณชำระดอกเบี้ย ประเด็นคัดค้าน: จะทำให้ธนาคารผลักภาระไปให้ผู้ฝาก-ผู้กู้เงิน จะทำให้ต้นทุนการทำธุรกรรมของธนาคารไทยสูง สู้ไม่ได้ใน AEC จะทำให้เงินไหลไปสู่ธนาคารเฉพาะกิจโดยเฉพาะออมสินเพราะไม่ถูกเก็บเงินสมทบกองทุนฟื้นฟู

คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ สาระสำคัญ พรก๔. กองทุนฟื้นฟูฯ (ส่งตีความ) ประเด็นที่ 1 และ 2 (184 วรรค 1 และ 2): เพื่อประโยชน์อันจะรักษาคงามมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ และเป็นกรณีฉุกเฉิน มีความจำแป็นเร่งด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยง เห็นว่า...แม้วิกฤตทางการเงินจะเกิดขึ้นเป็นเวลา 15 ปี แต่ความเสียหายยังไม่สัมฤทธิ์ผล..หนี้เงินกู้..ยังเป็นหนี้สาธารณะที่กระทรวงการคลังต้องรับผิดชอบ ..พรก.ฯ ได้กำหนดวิธีบริหารจัดการหนี้..(กองทุนฟื้นฟูฯ รับทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย) ธปท.เป็นผู้กำกับการดูแล..และคาดว่าจะชำระเสร็จสิ้นภายใน 27 ปี สำหรับดอกเบี้ยชำระเงินกู้..ถือว่าเป็นสัดส่วนที่มีนัยยะต่อการลงทุนของประเทศ..ซึ่งรัฐบาลสามารถนำมาลงทุน..เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนของประชาชน กอร์ปกับรัฐบาลต้องบังคับใช้ พรก.ฯ เพื่อให้มีเวลาเตรียมการเรียกเก็บเงินจากกองทุนค้มครองเงินฝากสำหรับรอบ 6 เดือนแรกของปี 2555 รัฐบาลจะได้ไม่ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายชำระหนี้เงินกู้ในงบประมาณปี 2556 ...และกำหนดไว้ชัดเจนว่า..ต้องกระทำการภายใน 30 มิถุนายน 2556.. พรก.ดังกล่าวอยู่ในช่วงปีงบประมาณ 2555 และ 2556 ..เป็นการลดภาระงบประมาณในช่วงที่จำเป็น..ต้องตรา พรก. นี้ จึงเป็นกรณีที่มีวัตถุประสงค์จำเป็นในการบังคับร่วมกันและเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน จึงเห็นว่า..การตรา พรก. ทั้ง 2 ฉบับ..มีสาเหตุสืบเนื่องมาจากวิกฤตการณ์อุทกภัยจริง และ มีความจำเป็นรีบด่วน..ศาลรัฐธรรมนูญโดยมีมติ 7 ต่อ 2

สิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น พรก. ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๕ มีโครงการบูรณะประเทศ ทั้งระบบน้ำและ ปัจจัยพื้นฐานต่างๆ โดยเร็ว มีคณะกรรมการขึ้นมาดูแล แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับ โครงการไทยเข้มแข็ง มีการลงทุนพัฒนาประเทศ คุ้มกับที่ต้องกู้เงิน 350,000 ล้านบาท ๒. พรก.กองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ พ.ศ. ๒๕๕๕ ตั้งกองทุน 50,000 ล้านบาทเพื่อขยายทุนประกันของประเทศ เพียงพอ กับความต้องการประกันที่สูงขึ้นและจบปัญหาการรับประกันต่อที่ไม่เพียงพอ ๓. พรก. การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยพ.ศ. ๒๕๕๕ สินเชื่อดอกเบี้ยถูก 300,000 ล้านบาท โดยธปท. ให้สินเชื่อดอกเบี้ยถูกมาผสมกับสินเชื่อ ธ/พ. โดยเริ่มต้นในเดือน มีนาคม พรก. ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ กองทุนฟื้นฟูฯ มีความสารถในการบริหารหนี้ FIDF โดยรัฐบาลไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยปีละ 60,000 ล้านบาทอีก ต้นทุนจากการขึ้นอัตราสมทบ (0.07% สำหรับธนาคารพาณิชย์ และ 0.47% สำหรับธนาคารเฉพาะกิจ) ไม่ก่อให้เกิดการขึ้นค่าบริการที่สูงเกินสมควร มีหลักเกณฑ์ของกองทุนจากเงินที่ได้เก็บจากธนาคารเฉพาะกิจ