สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน นางสานิตา บุญปทุมพงศ์ อ.แม่ทา จ.ลำพูน รองประธาน นางสาวเพ็ญศรี ศรีตั้ง อ.แม่ทา จ.ลำพูน ผู้นำเสนอ นางสาวสุกาญจนา แปงป้อ อ.แม่ทา จ.ลำพูน สมาชิกกลุ่ม นายอาทิตย์ พรอุดม อ.วังวิเศษ จ.ตรัง สมาชิกกลุ่ม นางสาวดุษฎี แซ่ตั้น อ.วังวิเศษ จ.ตรัง สมาชิกกลุ่ม
โจทย์ข้อที่ 1 การบูรณาการแผนพัฒนาการเกษตรประจำตำบล เข้าในช่องทางการทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของ อปท.
ต.ท่าสะบ้า อ.วังวิเศษ จ.ตรัง คณะกรรมการศูนย์ฯ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต. จัดเวทีชาวบ้าน ให้ทุกครัวเรือน ครัวเรือนละ 1 คนเข้าร่วม รวบรวมเป็นแผนพัฒนาหมู่บ้าน และสรุปลำดับความสำคัญ จัดทำเป็นแผนพัฒนาการเกษตร เจ้าหน้าที่การเกษตรร่วมกับคณะกรรมการ ศูนย์ จัดเรียงใหม่ ส่งเข้าอำเภอ จังหวัด จังหวัดจัดทำเป็นรูปเล่ม ส่งกลับมาที่ สนง.กษอ. เพื่อจัดส่งให้หน่วยงาน ต่างๆที่เกี่ยวข้อง เกษตรตำบลเป็นผู้เน้นย้ำแผน เพื่อให้เข้าสู่แผน 3 ปีของอบต. โดยใช้ความมีมนุษย์สัมพันธ์เข้าช่วย
ต.ทาปลาดุก อ.แม่ทา จ.ลำพูน อบต. เป็นหลักทำเวทีชุมชน เชิญหน่วยงานหลายฝ่ายร่วมกันทำแผน ชุมชนโดยใช้งบประมาณจาก อบต. จัดทำเวทีประชาคมระดับหมู่บ้าน โดยมีการประชาสัมพันธ์ให้คนใน ชุมชนมาทำเวที โดยจะจัดวันละ 1 หมู่บ้าน เมื่อเสร็จจะได้แผนชุมชน ทุกด้าน นำแผนทางด้านการเกษตรมาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการศูนย์ถ่ายทอด และนำมาจัดลำดับความสำคัญ จัดทำแผนพัฒนาการเกษตร จัดส่งอำเภอ จังหวัด และอบต.
เจ้าหน้าที่ต้องให้ความสำคัญในการจัดทำแผนทุกขั้นตอน ต.ทาปลาดุก อ.แม่ทา จ.ลำพูน (ต่อ) จัดทำเวทีประชาคมระดับตำบล เพื่อจัดลำดับความสำคัญของแผนทุกด้าน ก่อนนำเข้าสภา มีการประชุมสมาชิกทุกเดือน ที่ อบต. มีการทำแผน และแจ้งส่วนราชการ ในการร่วมทำแผน และมีการรายงานการทำงานของ อบต. ให้ส่วนราชการ ทราบ เจ้าหน้าที่ต้องให้ความสำคัญในการจัดทำแผนทุกขั้นตอน
โจทย์ข้อที่2 การดำเนินงานของตำบล โจทย์ข้อที่2 การดำเนินงานของตำบล
การพัฒนาบุคลากรของ อปท./สนง.กษอ. อปท. จะมีการอบรมที่สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น คณะกรรมการศูนย์ของบอบรม และทัศนศึกษาดูงาน โดยการของบจาก อปท.
การใช้ประโยชน์ IT เพื่อจัดการข้อมูลของตำบล อบต. ใช้ข้อมูลแผนที่ภาษี (โปรแกรม GIS) ในการจัดเก็บภาษี มาใช้ประโยชน์ด้านการตรวจสอบพื้นที่ เช่น การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ การจำนำข้าวเปลือก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น สนง.กษอ. ร่วมกับ อปท. ในการจัดเก็บข้อมูลด้านการเกษตร ให้เป็นปัจจุบัน ประมวลผลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ใช้ข้อมูลการเกษตรชุดเดียวกับเกษตรจังหวัด (ทบก.01) ใช้ข้อมูลจากสาธารณะสุข ร่วมด้วยในการจัดการข้อมูล เพื่อตรวจสอบจำนวนครัวเรือนและประชากร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และให้บริการ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โครงการหมู่บ้านปลูกผักปลอดสารพิษ โรงเรียนเกษตรกร จัดวิทยากรซึ่งเป็นเกษตรกร ให้คำปรึกษาด้านการผลิตพืช
โจทย์ข้อที่3 แนวทางการดำเนินการใน 1-3 ข้างหน้า โจทย์ข้อที่3 แนวทางการดำเนินการใน 1-3 ข้างหน้า
การบูรณาการแผนพัฒนาการเกษตร กับแผนท้องถิ่น เกษตรตำบลต้องเข้าไปประสานงานกับ อบต. อย่างต่อเนื่อง สร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานร่วมกัน ทำความเข้าใจกับ อบต. ในการนำเสนอแผนพัฒนาการเกษตร เข้าไปสู่แผนท้องถิ่น ทำงานในลักษณะทำงานร่วมกัน ทุกหน่วยงาน
บทบาทที่ชัดเจนในการทำงานแบบมีส่วนร่วม ระหว่าง อปท. สนง. กษอ. และชุมชน บทบาทที่ชัดเจนในการทำงานแบบมีส่วนร่วม ระหว่าง อปท. สนง. กษอ. และชุมชน สนง.กษอ. สนับสนุน อบต. ทางด้านวิชาการ ประสานงานในลักษณะแนะนำส่งเสริมอาชีพทางการเกษตร แนะนำหลักนโยบายเศรษฐกิจพอเพียง อบต. เป็นผู้ร่วมปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ สนง.กษ. และสนับสนุนด้านงบประมาณ ชุมชน ต้องรู้จักแสดงความต้องการ และการเสนอปัญหา
เครื่องมือในการทำงานร่วมกัน ความรู้ ทักษะ ความชำนาญ การร่วมมือ ร่วมใจกัน ตัวเกษตรกร งบประมาณ / ปัจจัยในการทำงาน
ประเมินผลแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชน อปท. และ สนง.กษอ. การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปี ควรจัดทำแบบประเมินโครงการ เพื่อวัดระดับความพึงพอใจ
สวัสดี