แผน 2 การแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด 1. เป้าหมายของแผน 1) ผู้เสพเข้าบำบัดรักษาทุกระบบในภาพรวมทั่วประเทศ จำนวน 300,000 คน โดยให้ความสำคัญกับระบบสมัครใจเป็นสำคัญ 2) ทุกจังหวัดสามารถนำผู้เสพติดรุนแรงที่ยังเลิกยาเสพติดไม่ได้หรือผู้เสพติดที่มีอาการแทรกซ้อนทางจิตหรือมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่จะส่งผลกระทบต่อตัวเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม เข้ารับการบำบัดฟื้นฟูฯ เพื่อลดอันตรายของชุมชนและสังคม 3) ทุกจังหวัดสามารถนำผู้เสพติดที่หลบหนีหรือไม่ปฏิบัติตามแผนการบำบัดฟื้นฟูฯ จนครบกระบวนการ (Drop out) ให้เข้าสู่การบำบัดฟื้นฟูฯ จนครบกระบวนการ 4) มีการติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ ผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูฯ อย่างครบวงจรให้ได้ ร้อยละ 80 ของฐานข้อมูลรายชื่อบุคคล ที่ผ่านการบำบัดในปี 2556-2557 เพื่อไม่ให้กลับไปเสพติดซ้ำ 5) สามารถสร้างระบบทางเลือก (Diversion) ของการนำผู้เสพเข้ารับการบำบัด
2. เป้าหมายการนำผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบำบัดรักษาทุกระบบ เป้าหมาย/ระบบ แผนชาติ มหาดไทย PENARS 300,000 (คน) 203,820 (คน) 147,237 (คน) สมัครใจ - 103,799 76,104 ค่าย (90,696) 15,030 บังคับ 100,000 (งบฯ) 82,519 46,784 ต้องโทษ 10,000 (งบฯ) 17,502 9,319 - เหลือ 23 จังหวัดที่ยังไม่ลงข้อมูล - ใน 53 จังหวัด ที่ลงข้อมูล มีถึง 43 จังหวัด ที่ลงข้อมูลเป้าหมายไม่ครบทุกระบบ
3. การติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษา 281,026 คน (บสต.4+nispa-ซ้ำ) ผู้ผ่านการบำบัดรักษา ปี 2556 165,000 คน (น้อยกว่าร้อยละ 55 ของผู้เข้ารับการบำบัด) ประมาณการผู้ผ่านการบำบัดรักษา ปี 2557
4. งบประมาณที่ลงใน ศพส.จ. 275 ล้านบาท ปี 2556 105.25 ล้านบาท ปี 2557 กิจกรรม 1) ติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษา 202,824 คน (97,355,520 บาท) 2) การบริหารจัดการ ศูนย์ Demand อำเภอ (7,902,000 บาท)
การติดตาม ศพส.จ. รวบรวมข้อมูลผู้เข้ารับการบำบัดในปี 2556-2557 ศพส.อ. รวบรวมข้อมูลในระดับอำเภอและมอบเจ้าหน้าที่ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ ตามวงรอบ ศูนย์ Demand อำเภอ จัดทำข้อมูลสอบถามความต้องการความช่วยเหลือ ศพส.จ./อ. ดำเนินการให้ความช่วยเหลือ
Drop out : ผู้หยุดการบำบัดรักษาหรือไม่ปฏิบัติตามกฎ ปี 2556 จำนวน 33,515 คน แนวทาง 1) ติดตามดูแลช่วยเหลือ Drop out ปี 2556-2557 2) ลงข้อมูลผลการติดตามใน NISPA 3) ติดตามแล้วพบว่ากลับไปเสพซ้ำ ให้นำเข้าบำบัดโดยส่งเข้าคัดกรอง