สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
Advertisements

๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ผลการสัมมนากลุ่มย่อย
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
- ชื่อ นาง ประกาย ภูตี กา อายุ ๕๐ ปี - วันเกิด ๒๘ เมษายน ๒๕๐๗ - การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ ๖ - ระยะเวลาการเป็น อส ม. ๑๐ ปี
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน

สรุปบทเรียน การผลักดันเพศศึกษาในหลักสูตรสถานศึกษา

บทเรียนที่สำคัญ การผลักดันนโยบายการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาและเอดส์ในสถานศึกษา : มีความต่อเนื่องของการสื่อสารจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น ผ่านเวบไซต์ คอลัมน์ของผู้บริหารระดับสูง แต่ยังไม่ “แรง+ ชัด” พอที่จะทำให้เกิดการปฏิบัติได้เหมือนกันทุกพื้นที่ การพัฒนากระบวนการทำงานเพศศึกษาอย่างเป็นระบบ : มีการออกแบบหลักสูตร+แผนการเรียนรู้ คู่มือการจัดกิจกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาเครือข่ายผู้จัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านในสถานศึกษาทุกระดับประถม มัธยมศึกษา อาชีวะศึกษา การศึกษานอกโรงเรียน และอุดมศึกษา และศูนย์ฝึกอบรมเยาวชน ๒ แห่ง แต่ครูยังเลือกสอนตามที่ตัวเองสะดวกใจและไม่ถนัดการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ได้ด้วยตนเอง

ของการทำงานเพศศึกษาในจังหวัดนำร่อง ภาพความสำเร็จ ของการทำงานเพศศึกษาในจังหวัดนำร่อง จากบทเรียนการทำงานโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ

ภาพความสำเร็จของจังหวัดนำร่องที่มีการดำเนินงานเพศศึกษาเพื่อเยาวชน มีหน่วยงานชัดเจนเป็นเจ้าภาพในการผลักดันงาน “เพศศึกษาในสถานศึกษา” อย่างต่อเนื่องทั้งในส่วนกลางและในแต่ละพื้นที่ มีภาคี/เครือข่ายที่ทำงานทำงานเพศศึกษาในสถานศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณ/ทรัพยากรจากท้องถิ่นสนับสนุนงานเพศศึกษาในสถานศึกษา MT/ครู ที่ร่วมงานโครงการก้าวย่างฯ ยังคงทำงานเรื่องเพศศึกษาอย่างมีคุณภาพ มีแหล่งประโยชน์/ผู้ให้บริการ ที่เยาวชน/โรงเรียน/ครู สามารถแสวงหาความช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมและแก้ปัญหาสุขภาวะทางเพศของเยาวชน และเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ สถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างน้อย ๘ ชั่วโมงต่อภาคเรียน (๑๖ ชั่วโมง/ปีการศึกษา) ทุกระดับชั้น โดยครูอย่างน้อย ๓-๑๐ คนสามารถจัดการเรียนรู้เพศศึกษาได้ สถานศึกษามีการส่งเสริมการรวมกลุ่มเยาวชนและการจัดกิจกรรมของเยาวชน เพื่อเผยแพร่ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษานอกห้องเรียนที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องตลอดปี มีแกนนำ/กลุ่มเยาวชนทำงานเพื่อพัฒนาเพศศึกษาสู่เยาวชน/ชุมชนในท้องถิ่น มีการสร้างเวที/เปิดโอกาส/สนับสนุนทรัพยากรเพื่อพัฒนาให้เกิดเยาวชนนักกิจกรรมที่มีความตั้งใจในการทำงานพัฒนาเยาวชนและชุมชน

โครงการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ ในสถานประกอบกิจการ - ASO THAILAND AIDS-response Standard Organization 5 ปี โครงการป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ ในสถานประกอบกิจการ

Lesson Learned 1. การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง นั้นสำคัญยิ่ง มี 2 กรม ร่วมกันรับรองมาตรฐาน ASO มี MOU ระหว่าง 2 กรม กับ TBCA มีประกาศกระทรวงแรงงาน อาจมีแนวปฏิบัติแห่งชาติ มีกรรมการระดับกระทรวง กรม กอง ช่วยผลักดันนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม มี Focal point ของภาคี มีความสำคัญอย่างยิ่ง

Lesson Learned ASO เป็นเครื่องมือที่ช่วยแก้ปัญหาเอดส์ได้ มีเครือข่าย NGO ที่เข้มแข็ง มีผู้ตรวจประเมินทุกจังหวั ASO ถูกบรรจุเป็น KPI ของกรมสวัสดิ์ฯ เข้าสู่แผนงานปกติของทุกจังหวัดแล้ว กลุ่มเป้าหมายชอบ (ใบ Cert. มีความจำเป็นต่อธุรกิจปัจจุบัน)

แผนยุทธศาสตร์บูรณาการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ. 2550 -2554 พัฒนานโยบายและดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในกลุ่มผู้ใช้แรงงาน  จำนวนสถานประกอบกิจการมีมาตรฐานฯ ASO Thailand

Sharing Knowledge & Lesson Learned Policy Code + ASO Sharing Knowledge & Lesson Learned Partnership

กรมสวัสดิ์ฯ กรม คร. สสจ. สสค. อปท. สปก. ทุนอื่นๆ รัฐบาลกลาง ภาคธุรกิจ Think globally กรมสวัสดิ์ฯ กรม คร. Act locally สสค. สสจ. อปท. GF บทเรียนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในสถานประกอบกิจการของกรมฯ ที่ผ่านมา กล่าวได้ว่า การทำงานเป็นเครือข่ายกับองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้องในทุกระดับนั้นเป็นปัจจัยความสำเร็จการดำเนินงาน ซึ่งรูปแบบการดำเนินงานของกรมฯ จะประสานความร่วมมือและการสนับสนุนจากองค์กรต่างประเทศ เช่น ภาคีต่างๆ ได้แก่ ILO, UNAIDS มูลนิธิกองทุนโลก และมีกลไกการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด เช่น กรมควบคุมโรค สมอ.และองค์กรพัฒนาเอกชนได้แก่ สมาคม TBCA และเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนอีก 34 องค์กร รวมทั้งองค์กรนายจ้างได้แก่ สภาองค์การนายจ้างแห่งประเทศไทย (ECOT) และสุดท้ายคือการทำงานกับสถานประกอบกิจการ ซึ่งทั้งหมดจะเป็นฟันเฟืองขับเคลื่อนไปพร้อมๆกับกระแสสากล ซึ่งก็คือ เราต้องมีมุมมองที่เป็นสากล คือ Think Globally และลงมือ ปฎิบัติอย่างจริงจัง คือ Act locally แปลเป็นไทยว่า ตาดูดาว เท้าติดดิน -จบ- สปก. ทุนอื่นๆ NGO รัฐบาลกลาง ภาคธุรกิจ

โครงการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ ดำเนินการโดย มูลนิธิดวงประทีป โครงการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ ดำเนินการโดย มูลนิธิดวงประทีป กองทุนโลก สนับสนุนโดย ล็อค 6 ถนนอาจณรงค์ คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 www.dpf.or.th กองทุนโลก

1. การเข้าถึงพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย 1.1 การสำรวจทุนของชุมชนและต่อยอดจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ 1.2 สร้างความไว้วางใจ 1.3 การสร้างการมีส่วนร่วมในพื้นที่

2. เทคนิคในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย (เยาวชนอายุ 15-24 ปี) 2.1 กิจกรรมขายตรงความรู้เอดส์สู่ชุมชน 2.2 กลุ่มย่อยเยาวชน 2.3 ทำงานร่วมกับกลุ่มแม่วัยทีน 2.4 ทำงานร่วมกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน 2.5 กิจกรรมลานเด็กลานวัฒนธรรม 2.6 กิจกรรมเปิดท้ายขายความรู้เอดส์ 2.7 บ้านพักใจเข้าใจวัยรุ่น 2.8 ดนตรีสัญจรสอนเอดส์ 2.9 สโมสรสัญจร (ละครหุ่น) 2.10 มิสควีน เรนโบว์สกาย 2.11 วิทยุชุมชน