สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
Strategy Map Teenage.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
สรุปการประชุม เขต 10.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
Pass:
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม โรงพยาบาลนาวังเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดหนองบัวลำภู นางวราภรณ์ ชาสังข์

สถานบริการ/เขตรับผิดชอบ ประเด็นปัญหา ผลการดำเนินงาน งานอนามัยแม่และเด็ก ในปีงบประมาณ 2552 จังหวัดหนองบัวลำภู อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ภาพรวมได้ร้อยละ 7.84 และในพื้นที่ 6 อำเภอ อำเภอนาวัง มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยที่สูงที่สุด ได้ร้อยละ 9.79 ดังตาราง สถานบริการ/เขตรับผิดชอบ เกณฑ์ ผลงาน อ.เมืองหนองบัวลำภู <ร้อยละ 7 8.96 อ.ศรีบุญเรือง 7.05 อ.นากลาง 4.50 อ.สุวรรณคูหา 7.43 อ.โนนสัง 3.81 อ.นาวัง 9.79 รวมผลงาน 7.84

วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์รอง 1. เพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่ และให้ตัวชี้วัดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500ผ่านเกณฑ์ 2. เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ครบรอบ84พรรษา วัตถุประสงค์รอง 1. มารดาและทารกมีความปลอดภัย 2. พัฒนาระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้มาตรฐาน 3. สร้างความตระหนักให้หญิงตั้งครรภ์และชุมชนให้เห็นความสำคัญของ ปัญหาทารกน้ำหนักตัวน้อย

กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน 1. ประชุมคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็กทุก 3เดือน 2. จัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์งานอนามัยแม่และเด็ก 3. อบรมจิตอาสาอนามัยแม่และเด็ก 4. จัดทำ Spot วิทยุและป้าย ประชาสัมพันธ์ รณรงค์

กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน 5. เพิ่มช่องทางในการให้คำปรึกษากันหญิงตั้งครรภ์ 6. จัดทำปฏิทินการตั้งครรภ์ 7. มอบรางวัลให้ อสม.ที่ชักชวนหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เร็วก่อน 12สัปดาห์

กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน 8. จัดการอบรมเข้าค่ายเรียนรู้ทักษะการใช้ชีวิต (โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจสุขภาพ)ให้กับเยาวชนในโรงเรียนนำร่อง 9. มอบชุดของขวัญให้กับหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ที่คลอดบุตรที่ทารกน้ำหนักมากกว่า2500กรัม 10. จัดระบบการประสานงานและส่งต่อในเครือข่าย กรณีครรภ์เสี่ยงที่ชัดเจน

กิจกรรม/กลวิธีการดำเนินงาน 11. ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 12. สรุปผลการดำเนินงานอนามัยแม่ละเด็กประจำปี และคืนข้อมูลแก่ทีมงานอนามัยแม่และเด็ก

ผลการดำเนินงาน ข้อมูล มารดาและทารก เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน ปี2552 (ร้อยละ) ผลงาน ปี2553 (ร้อยละ) ผลงาน ปี2554 (ร้อยละ) 1. อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12wks 2. ฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ 3. ทารกขาดออกซิเจนระหว่างคลอด 4. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500gm 5. ทารกอายุ2วันขึ้นไปมีผลTSHผิดปกติ 6. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน >50 ≥90 <30/พัน LB <7 <20 >30 60.24 78.32 27.97 9.79 27.13 36.75 68.46 88.46 23.07 6.92 17.11 47.50 63.89 85.18 9.27 5.55 3.70 50.37

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้นำให้ความสำคัญต่อการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย และมีความสามารถในการประสานงาน รวมทั้งเป็นขวัญกำลังใจที่ดี และให้การสนับสนุนแก่ทีมงาน/ผู้ร่วมงาน เป็นอย่างดี ทีมงานอนามัยแม่และเด็ก มีความมุ่งมั่น เสียสละ ชุมชน ท้องถิ่น และเครือข่ายสาธารณสุข ทุกระดับ เห็นความสำคัญของการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก และมีความตั้งใจที่จะพัฒนาสุขภาพชีวิตของแม่และเด็ก

ปัญหาและอุปสรรค 1. หญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ฝากครรภ์ที่อื่น แล้วกลับมาคลอดที่บ้านยากต่อการติดตาม 2. หญิงตั้งครรภ์ที่อายุน้อย/วัยรุ่น มักไม่ใส่ใจและขาดความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ 3. หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดทารกน้ำหนักตัวน้อยได้รับการแก้ไขหรือพบแพทย์ล่าช้า 4. บุคลกรมีน้อย เปลี่ยนผู้รับผิดชอบบ่อย ขาดความรู้และทักษะในการดูแลหญิงตั้งครรภ์

ข้อเสนอแนะ - ต่อบุคลากร 1. บุคลากรควรเฝ้าระวัง ดูแลและส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐาน และ มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์โดยการสร้างความตระหนักให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีส่วนร่วมของหญิงตั้งครรภ์ในทุกกิจกรรม 2.บุคลากรควรส่งเสริมภาวะสุขภาพของผู้หญิงตั้งแต่เยาว์วัยให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมก่อนเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์

ข้อเสนอแนะ - ต่อประชาชน 1. ควรให้ความสำคัญ ร่วมมือและสนับสนุน กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหญิงตั้งครรภ์ 2.ควรตระหนักถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นต่อส่วนรวมเมื่อทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2500 กรัม

ข้อเสนอแนะ - ต่อหน่วยงานภาครัฐ ควรให้ความร่วมมือและสนับสนุนจัดกิจกรรม โครงการที่เกี่ยวข้องกับหญิงตั้งครรภ์/วัยเจริญพันธุ์มากขึ้น

จบแล้วจ้า...