ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ประสบการณ์และวิธีการจัดการความรู้ ในงานบริการพยาบาล
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
เพื่อรับการประเมินภายนอก
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
กลุ่ม อาคาร 2 โครงการ ขอมาจัดไป
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การกำหนดประเด็นสอบสวน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
Workshop การจัดการความรู้
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
หัวข้อที่ 3 การสื่อสารสร้าง ความเข้าใจ. ประเด็นการพิจารณา 1. ช่องทางการสื่อสาร / ระบบการสื่อสาร ระหว่าง - หน่วยงานกับเจ้าภาพ - หน่วยงานกับ กพร. - หน่วยงานกับหน่วยงานอื่นๆ.
OPD 1 มิถุนายน 2549 vol.1.
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
Communities of Practice (CoP)
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
กลุ่มที่ 2 Blueprint for Change (BFC). รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 1. นิตยา วงศ์เดอรี ประธาน 2. สมคิด จันทมฤก เลขานุการ 3. สีหเดชา กลิ่น หอมหวล 4. ศิธร ปถม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
คณะทำงานจัดการองค์ความรู้
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Road Map KM 2551.
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
กลุ่มที่ 1.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน

ประเด็นหลักที่ได้ จากการทำ COP คือ การร่วมกันคิด เพื่อให้ได้รูปแบบ บริการ 1. ทำอย่างไร ให้ ผู้รับบริการ พึงพอใจ 2. ทำอย่างไร ให้เจ้าหน้าที่ มีความสุข ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์จริง แหล่งข้อมูล CoP ความพอพึง ใจมีขึ้นเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างบุคลากร ศูนย์อนามัย ที่ 10 ด้วยกัน เพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความ เป็นเลิศตามเกณฑ์ชี้วัด ของ PMQA หมวด 3 และ 4 - รายชื่อ คณะกรรมการ COP ความพึง พอใจ ของ ศูนย์ ที่ 10 คือ การร่วมกัน - บันทึกการทำ COP

1. กระบวนการ คิดอย่างมี แบบแผน 1. มีการแผนที่จะทำ COP ร่วมกันระหว่าง หัวหน้าทีม - กรรมการและประธาน KM. ของศูนย์อนามัยที่ 10 เพื่อได้ผลลัพธ์ คือ การเล่าเรื่องความสำเร็จ แต่ละหน่วยงาน เกี่ยวกับ การให้บริการที่ทำให้ ผู้รับบริการพึงพอใจ และ การทำงานอย่างไรให้มี ความสุขของเจ้าหน้าที่แต่ ละหน่วยงาน 1.1 แต่งตั้ง คณะกรรมการเพื่อเป็น แกนนำของ COP โดยยึด สมมุติฐานที่ว่าทุก คนมี ความสามารถและ ทำได้และ มอบหมายให้แต่ ละหน่วยงานใน ศูนย์อนามัยที่ 10 ส่งตัวแทนมา เป็นสมาชิกของ COP รายชื่อแกนนำของ COP - นางมนัญญา รัตน ภิรมย์ เป็น แกนนำ - นางกัลยา อุรัจจนา นนท์ รอง แกนนำ - นางกฤษณา เลิศ เรืองปัญญา เป็น Facilitator - นางพวงรัตน์ ไวย วิฬา เป็น Facilitator - นส. นงนุช วุฒิปรีชา เป็น Note Taker - นางวราพร สุภา เป็น Note Taker - นายไพศาล เลี้ยง ประยูร เป็น Note Taker - นายไตรทิพย์ สาม หงส์ เป็น Presenter ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์จริงแหล่งข้อมูล

ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์จริงแหล่งข้อมูล 1.2 มีการตั้งโจทย์ คำถามโดยประธาน KM. ของศูนย์อนามัยที่ 10 คือ - ทำอย่างไรให้ ผู้รับบริการพึงพอใจ - ทำอย่างไรให้ เจ้าหน้าที่ทำงาน อย่างมีความสุข ซึ่งก็ได้อธิบายทำ ความเข้าใจกับ ความหมายของ - ผู้รับบริการ - การทำงานอย่างมี ความสุข และมอบหมายให้ แกนนำและตัวแทน สมาชิกจากแต่ละ หน่วยงานกลับมา สอบถาม ค้นหา ประสบการณ์จากเพื่อน ร่วมงานของตนเองควร ทำอย่างไรบ้างใน รูปแบบของ Best practice แฟ้มบันทึกการทำ COP ความพึงพอใจ ศูนย์อนามัยที่ 10

ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์จริงแหล่งข้อมูล 2. มีวินัยในการ บริหารจัดการ กับงานที่ได้รับ มอบหมาย 1.3 วางแผนเรื่องเวลา สมาชิกมาเจอกัน เดือนละ 1 ครั้ง เวลาประชุม น. ของ สัปดาห์ที่ 3 ของ เดือน แต่วันอาจ เปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากบางคน อาจติดงานอื่น การนัดประชุม ใช้วิธี - ติดป้ายประกาศ บริเวณที่เซ็นชื่อเวลา มาทำงานของ เจ้าหน้าที่ทั้งฝ่าย โรงพยาบาลและศูนย์ - ประกาศเสียงตามสาย - โทรแจ้งย้ำเป็น รายบุคคล ย้ำให้สมาชิกเข้า ประชุมให้ตรงเวลา รักษาเวลาในการ ประชุมไม่ให้เลย เวลาราชการ แฟ้มบันทึกการทำ COP ความพึง พอใจศูนย์อนามัย ที่ 10

ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์จริงแหล่งข้อมูล 3. มีการนำเสนอ ที่ดี กล้าคิด กล้าแสดงออก 2. สนับสนุนและส่งเสริม สมาชิกเกี่ยวกับ 2.1 การกล้าแสดง ความคิดเห็นโดย ใช้ถ้อยคำที่เจ้าใจ ง่าย 2.2 เน้นว่าความคิด ไม่ต้องถูกต้อง ตามทฤษฏีเสมอ ไปแต่ขอให้คิด แล้วกลับไป ทดลองทำ แฟ้มบันทึกการทำ COP ความพึง พอใจศูนย์อนามัย ที่ การทำงาน เป็นทีม 2.3 กระตุ้นให้สมาชิก มุ่งมันให้เกิด ความสำเร็จ 2.4 การทำงานร่วมกัน ในทุกระดับ เสมอเท่าเทียมกัน 2.5 ให้กำลังใจกล่าว ชมคณะร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลงานที่ได้รับจาก การทำ COP ร่วมกัน

ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์จริงแหล่งข้อมูล 5. ละเอียด รอบคอบมี หลักฐานการ ทำงาน 3. จัดเก็บเอกสารจากการ ทำ COP เป็น หมวดหมู่และมีร่องรอย การบันทึกทุก ครั้ง โดย NOTETAKER เกี่ยวกับ การ บันทึกเรื่องเล่าที่แต่ละ งานมาเล่าฟัง แล้วนำมาสกัดบทเรียน หรือสาระ 4. เติมเต็มในเรื่องเล่าหาก ในรายละเอียด ไม่ครอบคลุม โดยให้ แต่ละงากลับไป ทดลองใช้ภายใน หน่วยงานดูเพื่อให้ ได้เนื้อหาที่สมบูรณ์ 5. แกนนำ ร้อยเรียงเขียน เรื่องราวและขัด เกลาใหม่ให้เกือบ สมบูรณ์ 6. รวบรวมส่งต้นฉบับให้ ประธาน KM ศูนย์อนามัยที่ 10 เพื่อ เก็บตกและ ตกแต่งให้สมบูรณ์ ยิ่งขึ้น แฟ้มบันทึกการทำ COP ความพึงพอใจศูนย์ อนามัย ที่ 10

ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์จริงแหล่งข้อมูล 6. มีความ รับผิดชอบและ ตั้งใจพัฒนา องค์กร 7. ให้แต่ละหน่วยงานนำไป ปฏิบัติเป็น คู่มือสร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ และการทำงานทำงาน อย่างมีความสุข 8. หลังแต่ละงานนำไป ปฏิบัติ ก็มีการ ติดตามผลโดยเชิญแกน นำและสมาชิก ตัวแทนแต่ละงานมา ประเมินผลเป็น ระยะ แฟ้มบันทึกการทำ COP ความพึง พอใจศูนย์อนามัย ที่ 10