โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
โครงการพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย เด็กโรคธาลัสซีเมีย จังหวัดอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
Pass:
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย

แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย ภายใต้โครงการดูแลแม่ดีมีลูกแข็งแรง ปลอดภัย เด็กไทยฉลาด

นโยบายธาลัสซีเมีย 1. หญิงมีครรภ์ได้รับการปรึกษาธาลัสซีเมียทุกราย 2 นโยบายธาลัสซีเมีย 1. หญิงมีครรภ์ได้รับการปรึกษาธาลัสซีเมียทุกราย 2. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองหากผลผิดปกติ ตามสามีตรวจคัดกรองทุกราย 3. คู่สมรสหากผลตรวจคัดกรองผิดปกติ ได้รับการตรวจ ยืนยันคู่สมรสเสี่ยงทุกคู่

4. หญิงมีครรภ์เข้าข่ายคู่สมรสเสี่ยง ได้รับการตรวจ ทารกในครรภ์ก่อนคลอดทุกราย 5. สถานบริการสาธารณสุขจัดระบบบริการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคทุกแห่ง 6. นักเรียน หญิงวัยเจริญพันธ์ คู่สมรสได้รับความรู้ ธาลัสซีเมียทั่วถึง

ผลการดำเนินงาน

ร้อยละการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์จังหวัดอุดรธานี ปี 2548 - 2554 เดือน

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย ก่อนอายุครรภ์ 16 สัปดาห์ จังหวัดอุดรธานี ปี 2548 - 2554 เดือน

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลการตรวจคัดกรอง positive ปี 2548 - 2554 เดือน

ร้อยละสามีของหญิงตั้งครรภ์มีผลตรวจคัดกรอง positive ได้รับการตรวจคัดกรอง ปี 2548 - 2554 เดือน

ข้อเสนอแนะ 1. คุณภาพบริการ/ การพัฒนาบุคลากร 2 ข้อเสนอแนะ 1. คุณภาพบริการ/ การพัฒนาบุคลากร 2 . การจัดทำ / ส่งรายงานไม่สม่ำเสมอ ( จัดทำและส่ง 4 งวดเหมือนเดิม ) 3. การจัดทำรายงานขาดการวิเคราะห์ ข้อมูล / ข้อมูลขัดแย้งกัน

การเบิกค่าตรวจยืนยันโรคธาลัสซีเมีย ปี 2555

ประกอบด้วย 1. Hemoglobin typing 2. PCR สำหรับ  - Thalassemia 1 3. Mutation analysis 4. การตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ การทำหัตถการ Amniocentesis หรือ Clonic villus sampling หรือ Cordocentesis

หน่วยงานที่เบิก เป็นหน่วยที่มีศักยภาพในการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการในสังกัดของรัฐ หากเป็นเอกชนต้องเป็นหน่วยบริการเอกชน ที่เข้าร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ระยะเวลาการเบิก เริ่ม 1 สิงหาคม 2555 ส่งเบิกที่ สปสช.รูปแบบ อิเลคทรอนิคไฟล์ ที่ thalassemia.p@nhso.go.th โดยข้อมูลจะต้องครบถ้วนตามแบบฟอร์มที่กำหนดให้ ( แนวทางการเบิกปี 2556 อยู่ระหว่างปรึกษาหารือ )

ค่าบริการตรวจ Hemoglobin typing 250 บาท อัตราการบริการ ค่าบริการตรวจ Hemoglobin typing 250 บาท ค่าบริการตรวจแอลฟ่าธาลัสซีเมีย 350 บาท ค่าตรวจ Mutation analysis 1,200 บาท ค่าบริการ การตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ การทำหัตถการ Amniocentesis หรือ Clonic villus sampling หรือ Cordocentesis รายละ 2,500 บาท

รูปแบบการเบิก มี 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 1. รพ.อุดรธานี / ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรวจ ส่งผลตรวจ และเรียกเก็บเงินจากโรงพยาบาลที่ส่งตรวจ / โรงพยาบาลที่ส่งตรวจเรียกเก็บเงินจาก สปสช.

รูปแบบที่ 2. รพ.อุดรธานี / ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรวจ ส่งผลตรวจกลับโรงพยาบาลที่ส่ง และเรียกเก็บเงินจาก สปสช. โดยตรง

ใช้แบบฟอร์มใหม่ตามที่ สปสช. กำหนด ( ตามเอกสาร )

ภารกิจเร่งด่วน สถานบริการทุกแห่งจะต้องบันทึกข้อมูลผู้รับบริการย้อนหลังจาก 1 ต.ค 54 – 30 ก.ค 55 แล้วส่งกลับฝ่ายส่งเสริมสุขภาพในรูปแบบอิเลคทรอนิคไฟล์ภายในวันที่ 13 กันยายน 2555 Email : pairinbuttsanlee@ymail.com

ขอขอบคุณ และสวัสดีค่ะ