สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี 020952
เปรียบเทียบสถานการณ์โรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรกเดือนกค52(20 กค52-20สค 52)กับ สค 51(20 กค51-20 สค 51) จังหวัดนครปฐม อัตราต่อปชกแสนคน
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก
เรียง10 ลำดับแรกของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ประเทศไทย ปี 2552 (สืบค้นข้อมูล ณ 25 สค 52) Reporting areas Total per 100,000 1.Mae Hong Son 368 1 145.63 2.Chumphon 666 137.40 3.Phrae 606 130.75 4.Rayong 635 106.07 5.Songkhla 1394 104.36 6.Samut Prakan 1175 2 102.42 7.Tak 547 101.61 8.Phatthalung 502 99.38 9.Ratchaburi 748 89.49 10.Prachuap Khiri Khun 432 86.33 แหล่งที่มา: E 2 สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ปี 2552 (ข้อมูล ณ 25 สค 52) จำนวน(ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
ประเทศ จังหวัดนครปฐม
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามการวินิจฉัย(ข้อมูล ณ 25 สค 52)
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามอำเภอ(ข้อมูล ณ 25 สค 52) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา งานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
แผนที่จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกช่วงเดือนสค 52 จำแนกตามอำเภอ(ข้อมูล ณ 25 สค 52)
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามกลุ่มอายุ(ข้อมูล ณ 25 สค 52) ต่ำสุด 7 เดือน สูงสุด 77 ปี อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา งานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
ทบทวนประเด็นสำคัญ การป้องกันเฝ้าระวังโรค ส่วนใหญ่ไม่ได้ทำ บางแห่งทำแต่ไม่ครอบคลุม หลายแห่งยังมีปัญหาเรื่องความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (การจัดการด้าน สวล. การดำเนินการหลักฯลฯ) ทำอย่างไรจึงจะสามารถทำให้ประชาชนตระหนัก
ประเด็นสำคัญด้านการรักษา Pitfalls in การวินิจฉัย การรักษา การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด การให้ colloidal solutions การรักษาภาวะน้ำเกิน
สาเหตุการตายของผู้ป่วยไข้เลือดออกระหว่างพ.ศ. 2547-2551 N = 90 ราย Prolonged shock in hospital Due to bleeding 43.3% Due to delayed hyperoncotic colloidal resuscitation 28.9% Prolonged shock from home due to missed diagnosis Early fluid overload
Missed Diagnosis ไม่ทำ tourniquet test ไม่ส่งตรวจ CBC ผู้ป่วยร้อยละ 70 -77 ไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นไข้เลือดออกที่ OPD และ/หรือ IPD ที่ OPD ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคอื่นๆ ร้อยละ 75 ได้แก่ Acute pharyngotonsillitis URI Acute gastroenteritis สาเหตุของการวินิจฉัยผิดพลาด ไม่ทำ tourniquet test ไม่ส่งตรวจ CBC ไม่นัดติดตามอาการ
สิ่งที่โรงพยาบาลต้องเตรียมพร้อม พบผู้ป่วยสงสัยควรทำ tourniquet test ทุกราย ต้องเตรียม Lab CBC ทั้งวันธรรมดาและวันหยุดราชการ ควรนัดติดตามอาการ ต้องระวังการให้ fluid overload ต้องระวังพิเศษในวัยผู้ใหญ่
“ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ 2009 เอช1เอ็น1” “ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ 2009 เอช1เอ็น1”
แผนที่แสดงจำนวนผู้ป่วยที่วินิจฉัยด้วยโรคไข้หวัดใหญ่ จังหวัดนครปฐม ตามระบบรายงาน 506 (ณ 25 สค 52)
ประเด็นสำคัญป้องกันการเสียชีวิต การวินิจฉัย..กลุ่มผู้ป่วยมีโรคประจำตัว การให้ยาตามแนวทางฯ
งานระบาดวิทยา สสจ.นครปฐม ขอให้โชคดี ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา สสจ.นครปฐม Darunee Phosri