เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
Advertisements

ให้นักเรียนคลิกเลือกคำตอบที่คิดว่าถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา COM 3701 ระบบการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
Wireless Local Loop (WLL)
Mahidol Witthayanusorn School
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
เนื้อหา วัตถุประสงค์ของการใช้ระบบเครือข่าย
ICT+ Introduction to Networks ดร. สุรศักดิ์ มังสิงห์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ข้อเสีย สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล Satellite Transmission
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ ๖จาร อินเตอร์เน็ตคืออะไร เมื่อพิจารณาแล้วอาจจัดแบ่งเป็น ๒ มุมมอง - มุมมองด้านองค์ประกอบ - มุมมองด้านบริการ มุมมองด้านองค์ประกอบ อินเตอร์เน็ต หมายถึง.
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล (Computer Network And Data Communication) คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การหักเหของแสง (Refraction)
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
Chapter 5 สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ Transmission Media and Multiplexing This presentation demonstrates the new capabilities of PowerPoint and.
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
NETWORK.
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
สายคู่บิดเกลียวข้อเสีย ราคาถูก ง่ายต่อการนำไปใช้ ข้อดี ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน จำกัดความเร็ว สายโคแอกเชียลข้อดี เชื่อมต่อได้ใน.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ความหมายของตัวกลางในการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือตัวกลางการสื่อสาร หรือตัวที่เป็นสื่อกลางในการนำสัญญาณการสื่อสารจากแหล่งผู้ส่งไปยังแหล่งผู้รับ

1. ตัวกลางประเภทสาย 2. ตัวกลางประเภทไร้สาย ประเภทของตัวกลาง  ประเภทของตัวกลาง เราสามารถแบ่งตัวกลางการสื่อสารออกได้เป็น  2 ประเภทหลักๆ  ดังนี้  1. ตัวกลางประเภทสาย  2. ตัวกลางประเภทไร้สาย

 ตัวกลางประเภทสาย  1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair ) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลดผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิ้ลเดียวกันหรือจากภายนอก

ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ) ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)  สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอก ทำให้สะดวก ในการเดินสายเพราะโค้งงอได้ดี แต่สามารถป้องกันการรบกวนได้น้อย

ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ) ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)  2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair) สายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้น เพื่อ ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น

ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ) ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)    2) สายเคเบิลแกนร่วมหรือโคแอกซ์ (Coaxial  Cable) เป็นสายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดี่ยวเป็นแกนกลาง หุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วยลวดทองแดงถักเป็นร่างแหล้อมรอบเป็นตัวกั้นสัญญาณรบกวนอยู่ด้านนอกและหุ้มชั้นนอกด้วยฉนวนพลาสติก

ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ) ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)  3. สายไฟเบอร์ออปติก (Fiber Optic Cable)  หรือสายเคเบิลใยแก้วนำแสงเป็นตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูลในรูปของแสง  หลักการทั่วไปของการสื่อสารในสายไฟเบอร์ออปติก คือการเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลหรือสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสงก่อน  แล้วส่งผ่านสายไฟเบอร์ออปติกไปยังปลายทาง  

ตัวกลางประเภทไร้สาย 1. คลื่นวิทยุ (radio wave) คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิรตซ์ ถึง 1 กิโลเฮิรตซ์ ใช้งานในการติดต่อ สื่อสารในระบบแลนไร้สาย  เช่น การสื่อสารในระบบวิทยุ เอฟเอ็ม  วิทยุเอเอ็ม การสื่อสารโดยใช้ระบบไร้สาย และบลูทูท

ตัวกลางประเภทไร้สาย (ต่อ) 2. คลื่นไมโครเวฟ (microwave) สัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ – ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง 

ตัวกลางประเภทไร้สาย (ต่อ) 3. อินฟราเรด (Infrared) เป็นลักษณะของคลื่นที่ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ ในช่วงความถี่ที่แคบมาก ใช้ช่องทางสื่อสารน้อย มักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับสัญญาณ โดยต้องใช้วิธีการสื่อสารตามแนวเส้นตรง ระยะทางไม่เกิน 1 – 2 เมตร

แบบฝึกหัด เรื่องตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบใช้สายและแบบไร้สาย แตกต่างกันอย่างไร 2.การรับส่งข้อมูลผ่านอินฟราเรด มีลักษณะอย่างไร 3.คลื่นไมโครเวฟมีความถี่ประมาณเท่าไหร่ 4. เพราะเหตุใด การส่งสัญญาณไมโครเวฟจะต้องตั้งสถานีรับส่งเป็นจำนวนมาก 5. ตัวกลางการสื่อสารแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ไรบ้าง 6.จงอธิบายลักษณะของสายคู่บิดเกลียวว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร 7. คุณสมบัติของสายใยเเก้วนำเเสงเป็นอย่างไร