Java Desktop Application #5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
Advertisements

Funny with Action Script
Lab Part Nattee Niparnan
Component องค์ประกอบของ GUI.
Swing Component Basic Component.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Project Management.
การแทรกรูปภาพ การนํารูปภาพจากแฟมขอมูลอื่น
จดหมายเวียน (Mail Merge)
การกำหนด Section การใส่ Section Break ก็คือการกำหนดให้เอกสารแบ่งออกเป็นแต่ละ Section ดังนั้น คุณจึงสามารถกำหนดรูปแบบการจัดวางข้อความในแต่ละ Section ให้แตกต่างกัน.
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
Visual Basic บทที่ 1.
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ส่วนประกอบของโปรแกรม
คู่มือการใช้งานโปรแกรม EndNote. ตั้งชื่อไฟล์ที่จะใช้งาน.
โปรแกรม Microsoft Access
ทบทวนเรื่อง GUI - กลุ่มคำสั่ง AWT Set (Abstract Windowing Toolkit) และ
การสร้าง Digital Video ด้วย Window Movie Maker
การสร้างส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (5) การสร้างเมนู
สวัสดีค่ะ ท่านประธาน และผู้เข้าร่วมประชุม
เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม Java
โปรแกรม DeskTopAuthor
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
พื้นฐานการรับค่า จากผู้ใช้งานด้วย EDITTEXT ง การเขียนโปรแกรมบนระบบไร้ สาย.
การสร้างเหตุการณ์ click ให้กับปุ่มกด Button
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
เจ้าหน้าที่ระบบคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศการประชาสัมพันธ์
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม Do Loop Until โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึ่ม Lec03 : 25/03/2551 การทำงานกับ Event ต่าง ๆ โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
Java Desktop Application #4
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
การใช้งานเครื่องมือในหน้าต่าง ToolBox
Selection Nattapong Songneam.
หลักการทำ Animation แบบง่ายๆ
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
การใช้งาน Hatch Brush , Texture Brush
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Extra_08_Test_Modular_Calculator
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก intro_vb_net_06 การสร้างกราฟเส้นตรงด้วย VB.NET
วิชาการเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย vb.net2005
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
บทที่ 3 การสร้าง Appication แบบ Windows Form
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
Java for Android Mobile Application Developers
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
Lesson01 แมวเหมียว การแสดงภาพและเสียง. 1. คลิก New Project.
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
การจัดวางคอมโพเนนต์กราฟิก
สร้างและจัดการกับแผ่นสไลด์
14/01/581 ผู้พัฒนา อะโดบีซิสเต็มส์ ( เริ่ม พัฒนาโดย แมโครมีเดีย ) รุ่นเสถียร ล่าสุด CS3 (9.0) รุ่นทดลอง ล่าสุด (27 มีนาคม พ. ศ. 2550) โอเอส Windows Mac.
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
การสร้างความเชื่อมโยง (Link)
การสร้างข้อความลงแผ่นสไลด์
เลื่อนเมาส์แล้วเปลี่ยนเฟรม 1. สร้างไฟล์ flash โดยเลือกเป็น Action Script เพิ่ม Layer ให้เป็น 2 เลเยอร์ แล้วตั้งชื่อ เลเยอร์ บนสุด ตั้งชื่อ action.
การสร้างตารางในเอกสาร
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
การสร้างเมนูเข้าสู่บทความ. เป็นการสร้างเมนูเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทความที่ สร้างไว้ภายในเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างเมนูได้ ดังนี้ – การสร้างเมนูเข้าสู่บทความที่ถูกพักการใช้งาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Java Desktop Application #5 โปรแกรมคำนวณ และการใช้งาน jList , jRadioButton ใน NetBean 6.0 & swing set โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com

ออกแบบหน้าจอโปรแกรม ดังรูป หลักการทำงาน โปรแกรมที่ผ่านมามีการคำนวณพื้นที่ต่าง ๆ โดยใช้การเลือกการคำนวณค่าจาก ComboBox ค่าการคำนวณ จาก ComboBox แล้ว ก็ ป้อนข้อมูลที่จำเป็นจากนั้นก็ กด ปุ่ม OK แล้วโปรแกรมจะทำการคำนวณ และแสดง ผลลัพธ์ ออกมา ดังรูป แต่สำหรับโปรแกรมครั้งนี้จะแนะนำเครื่องมือตัวใหม่ อีก ดังนี้คือ jList jRadioButton jButtonGroup jPanel ButtonGroup

สร้าง โปรเจ็กต์ใหม่ ไปที่เมนู File เลือก New Project เลือก Java Desktop Application กำหนดชื่อโปรเจ็กต์เป็น desktop_app5

control ต่าง ๆที่ใช้สำหรับโปรแกรมนี้ jLabel jTextField jButton jList jRadioButton jButtonGroup jPanel jOptionPane

ออกแบบหน้าจอโปรแกรม jLabel jTextField jList

ออกแบบหน้าจอโปรแกรม (ต่อ…) Button jPanel jRadioButton

การแทรก jList เข้ามาใน jFrame สามารถทำได้ดังนี้ ที่หน้าต่าง Swing เลือก Swing Control เลือกเครื่องมือ List ทำการ Drage mouse มาวางบน Frame แล้วปล่อย mouse ปรับขนาดของ List ตามต้องการ ดัง ต.ย. ในรูปข้างล่างนี้

การกำหนดคุณสมบัติของ jList1 - model :: ใช้สำหรับกำหนด/เพิ่ม รายการที่อยู่ใน jList1 - selectedItem :: สำหรับแสดงรายการที่ถูกเลือกจากรายการทั้งหมดที่อยู่ใน model การกำหนดคุณสมบัติ สามารถทำได้ดังนี้ Click เลือกที่ jList1 ในหน้าต่าง Properties ให้ เลือก model จะปรากฏหน้าต่างในการเพิ่มรายการ หากเราต้องการ สามารถเพิ่มรายการของเรา ก็สามารถพิมพ์ลงในช่อง item แล้วก็กด ปุ่ม add ดังตัวอย่างในรูป หมายเหตุ ในที่นี้เราไม่ต้องกำหนด ค่าใด เนื่องจาก ต้องการเขียนโปรแกรมเพิ่มเข้าไปที่หลัง

การแทรกและใช้งาน jPanel jPanel เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับ จัดวางกลุ่มของ ออบเจ็กต์ต่างบนหน้าจอให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ในที่นี้เราต้องการจัดกลุ่มของ jRadioButton ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้ ที่หน้าต่าง Swing เลือก Swing Containers เลือกเครื่องมือ Panel ทำการ Drage mouse มาวางบน Frame แล้วปล่อย mouse ปรับขนาดของ Panel ตามต้องการ ดัง ต.ย. ในรูปข้างล่างนี้

การกำหนดคุณสมบัติ Border ของ jPanel วิธีทำ คลิกเมาส์เลือกที่ Panel ที่ต้องการ ในหน้าต่าง Properties เลือก เลือก Border แล้วจะได้ หน้าต่างดังรูป ให้คลิกเมาส์เลือกรูปแบบที่ต้องการแต่ในที่นี้ ให้เลือก เป็นแบบ TitleBorder ผลลัพธ์จะได้ดังรูปข้างล่าง

การแทรกและใช้งาน jRadioButton สามารถทำได้ดังนี้ ที่หน้าต่าง Swing เลือก Swing Control เลือกเครื่องมือ RadioButton ทำการ Drage mouse มาวางบน jPanel แล้วปล่อย mouse ปรับขนาดของ jRadioButton ตามต้องการ ดัง ต.ย. ในรูปข้างล่างนี้ ในที่นี้ให้ เพิ่ม jRadioButton ทั้งหมด 5 ครั้งดังรูป

คุณสมบัติที่สำคัญของ RadioButton Text ใช้สำหรับกำหนดข้อความบน RadioButton ButtonGroup ใช้สำหรับจัดกลุ่มของ RadioButton หากเราต้องการจัดกลุ่มของ RadioButton ทุกตัวให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ต้อง แทรก ButtonGroup จาก palleteมาบนหน้าจอ ก่อน แล้ว กำหนด Properties ButtonGroup ให้เป็น ButtonGroup1

Code ในปุ่ม btnOK การเข้าไปเขียนคำสั่งในเหตุการณ์ btnOKMouseClicked ทำได้ดังนี้ Click ขวาที่ jButton1 เลือก Event เลือก mouse เลือก mouseclick เขียนคำสั่งในหน้าถัดไป

โค้ดในปุ่ม btnOK private void btnOKMouseClicked(java.awt.event.MouseEvent evt) { // TODO add your handling code here: lstModel = new DefaultListModel(); if(jRadioButton1.isSelected() ) { int n = Integer.parseInt(txtNumber.getText()); for(int i = 1;i<=n;i++) { if(i % 2 == 0) { } else { lstModel.addElement(i); } lst1.setModel(lstModel); } else if (jRadioButton2.isSelected() ) { jOptionPane1.showMessageDialog(null,"กรุณาเลือกรายการที่ต้องการคำนวณก่อน ค่ะ"); } }

Code ในปุ่ม btnRemove การเข้าไปเขียนคำสั่งในเหตุการณ์ jButton2MouseClicked ทำได้ดังนี้ Click ขวาที่ jButton2 เลือก Event เลือก mouse เลือก mouseclick private void btnRemoveMouseClicked(java.awt.event.MouseEvent evt) { // TODO add your handling code here: if(lst1.getSelectedIndex() != -1) { // ถ้าเลือก รายการใดก็ให้ ลบเฉพาะรายการนั้น ๆ lstModel.remove(lst1.getSelectedIndex()); } else{ // ถ้าไม่ได้ เลือก รายการใด ๆ เลย ให้ ลบทั้งหมด lstModel.clear(); }

Code ในปุ่ม btnExit การเข้าไปเขียนคำสั่งในเหตุการณ์ jButton3MouseClicked ทำได้ดังนี้ Click ขวาที่ jButton3 เลือก Event เลือก mouse เลือก mouseclick เขียนคำสั่งในหน้า ถัดไป

Code ในปุ่ม Exit private void btnExitMouseClicked(java.awt.event.MouseEvent evt) { // TODO add your handling code here: String[] choices = {"Yes", "No", "Quit"}; int response = jOptionPane1.showOptionDialog( null // Center in window. , "คุณต้องการออกจากโปรแกรมหรือไม่ ?" // Message , "MyTitle" // Title in titlebar , jOptionPane1.YES_NO_OPTION // Option type , jOptionPane1.PLAIN_MESSAGE // messageType , null // Icon (none) , choices // Button text as above. , "None of your business" // Default button's label ); switch (response) { case 0: break; case 1: case 2: System.exit(0); // It would be better to exit loop, but... case -1: //... Both the quit button (3) and the close box(-1) handled here. default: //... If we get here, something is wrong. Defensive programming. jOptionPane1.showMessageDialog(null, "Unexpected response "); }

อธิบายคำสั่งที่สำคัญ :: การแสดงข้อความใน jLabel หากเราต้องการพิมพ์ข้อความไปที่ Label ใด ๆ ก็ใช้ method setText() ดัง ตัวอย่าง ถ้าต้องการพิมพ์ คำว่า “Hello” ใน jLabel1 ก็เขียนคำสั่งได้ ดังนี้ ถ้าหากข้อความที่ต้องการแสดงนั้นเป็นค่าจากตัวแปร ก็ ไม่ต้องใส่เครื่องหมาย “” ดังตัวอย่าง jLabel1.setText(“Hello”); String str = “Hello”; jLabel1.setText(str);

การตรวจสอบการกดปุ่มของผู้ใช้ String[] choices = {"Yes", "No", "Quit"}; int response = jOptionPane1.showOptionDialog( null // Center in window. , "คุณต้องการออกจากโปรแกรมหรือไม่ ?" // Message , "MyTitle" // Title in titlebar , jOptionPane1.YES_NO_OPTION // Option type , jOptionPane1.PLAIN_MESSAGE // messageType , null // Icon (none) , choices // Button text as above. , "None of your business" // Default button's label ); switch (response) { case 0: break; case 1: case 2: System.exit(0); // It would be better to exit loop, but... case -1: default: jOptionPane1.showMessageDialog(null, "Unexpected response "); } ผลลัพธ์