ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
โดย นายแพทย์อิทธิพล สูงแข็ง
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 1 ปี 2557 จังหวัดเลย
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย 4 ปี เพื่อเชื่อมโยงสู่การปฏิบัติ ในหน่วยงานระดับสำนักงาน/กอง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557 ณ โรงแรมวิชชิ่ง ทรี ท่าพระ ขอนแก่น 14 มกราคม 2557

หัวข้อ กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2557 การสังเคราะห์ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัด กับ การตรวจราชการ ระบบข้อมูลสนับสนุนการนิเทศงาน ติดตาม กำกับ ประเมินผล ทีมนิเทศ รูปแบบ และกำหนดการนิเทศงานจังหวัดร้อยเอ็ด

เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต พัฒนาโครงสร้างการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการระดับเขต * จัดทำแนวทางการจัดตั้ง สนง.เขตสุขภาพ (องค์ประกอบด้านคน เช่น CIO CSO CFO และโครงสร้างงาน) * จัดตั้งคณะกก.พัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับเขต ( Service Provider Board ) * มอบนโยบายการบริหารแผนงานและข้อมูลระดับเขต - พัฒนาระบบบริการสุขภาพ/ - บริหารการเงินการคลัง - บริหารทรัพยากร ฯลฯ

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 2. การบริหารร่วม - บริหารแผน : มียุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายตัวชี้วัดระดับเขต - บริหารทรัพยากรบุคคล : มีการวางแผนกำลังคน โดยวิเคราะห์ อัตรากำลัง ความต้องการรายหน่วยบริการ จัดสรรอัตรากำลัง พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะบุคลากร การจ้างพนักงานกสธ. และการกำหนดค่าตอบแทน แรงจูงใจให้ปฏิบัติงาน อย่างเป็นธรรมและเหมาะสม

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต - บริหารงบประมาณ : บริหารงบ UC ได้แก่ ค่าใช้จ่ายรายหัว และงบ PP ทั้ง และงบ Non UC ในการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า ทั้งนี้ส่วนกลางกำหนดวงเงินให้ เขตบริหารเอง - บริหารงบลงทุน : วางแผนการลงทุนและแผนการใช้ทรัพยากร ร่วมกันในเขต - บริหารการจัดซื้อจัดจ้าง : มีแผนการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ให้เป็นไปตามเป้าหมายของกสธ. โดยเฉพาะยา และวัสดุ วิทยาศาสตร์ มีการดำเนินการร่วมกัน

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 3. การจัดบริการร่วม * มีแผนการจัดบริการที่บูรณาการครอบคลุม 4 มิติ เพื่อ ตอบสนองเป้าหมายและตัวชี้วัดตามกลุ่มวัย * มีแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ 10 สาขาและ ยกระดับขีดความสามารถของสถานบริการในลักษณะ เครือข่ายเชื่อมโยงทุกระดับ (Service Plan) ทั้งในเขต และนอกเขต * ดำเนินการติดตามและบริหารผลการดำเนินงานตาม ระยะเวลา * ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงานและการจัดบริการร่วม

กรอบประเด็นการตรวจราชการ ปี 2557 ตรวจติดตามนโยบายและ ยุทธศาสตร์กระทรวงฯ ตรวจติดตาม กฎหมายสำคัญ 2 ภารกิจ 4 หัวข้อ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย 2 การพัฒนาระบบและจัดระบบบริการฯ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการฯ 4 กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภค 17 ประเด็นการตรวจราชการ 1.1 กระบวนการ บริหารงานส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรค 1.2 ผลลัพธ์ภาวะสุขภาพ ตามกลุ่มวัย 5 กลุ่ม 1.3 ผลลัพธ์ของการ ดำเนินงานปัญหา สุขภาพใน พื้นที่ (Area Base) 2.1 ผลการดำเนินงาน Service Plan 2.2 ผลการดำเนินการ จัดบริการร่วม 2.3 ผลการจัดบริการ เฉพาะ 2.4 การตรวจรับรอง คุณภาพ 3.1 การวางแผน 3.2 การบริหารและจัดการ ทรัพยากรบุคคล 3.3 การบริหารงบประมาณ การเงินและการคลัง 3.4 การบริหารเวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 3.5 การควบคุมภายใน 3.6 การจัดการเรื่องร้องทุกข์ 3.7 การสื่อสารและสารนิเทศ 4.1 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4.2 ระบบบริหารจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 4.3 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยรับตรวจ เขต สสจ. รพศ./รพท. รพช. สสอ. รพ.สต.

กำหนดการตรวจราชการฯกรณีปกติ กำหนดการการตรวจราชการและนิเทศงาน เขต จังหวัด กำหนดการตรวจราชการฯกรณีปกติ และบูรณาการ หมายเหตุ รอบที่ 1 รอบที่ 2 7 กาฬสินธุ์ 22-24 มค. 57 11-13 มิย. 57 กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความ เหมาะสม มหาสารคาม 5-7 กพ. 57 18-20 มิย. 57 ร้อยเอ็ด 19-21 กพ. 57 16 -18 กค. 57 ขอนแก่น 5-7 มีค. 57 23-25 กค. 57

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2557-25560 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2557-25560 กระบวนการทบทวน ปรับปรุง และประกาศใช้ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดร้อยเอ็ด เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ปึ 2557 การสังเคราะห์ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัด กับการตรวจราชการ แบบรายงานผลการดำเนินงาน

5.ดำเนินการ กระบวนการจัดทำระบบบริหารยุทธศาสตร์ 3.กำหนดทิศทาง 1. วิเคราะห์ความต้องการทางยุทธศาสตร์ 2. ประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร์ นโยบาย ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการณ์ตามภารกิจ ศึกษา และ วิเคราะห์ ความต้องการ หรือจุดยืน ทางยุทธศาสตร์ รู้เรา ประเมินศักยภาพองค์กร ในการตอบสนองความต้องการ ทางยุทธศาสตร์ รู้เขา 5.ดำเนินการ รายงานผล ประเมินผล /ปรับปรุงและพัฒนา ติดตามผล ดำเนินงานตามแผน 6. เชื่อมโยงความสมดุลทรัพยากรทางยุทธศาสตร์ 3.กำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ (เป็นอะไร ?) (ทำอะไร ?) (มุ่งเน้นอะไร ?) (ได้อะไร ?) CSF ทบทวน ภารกิจ และ โครงสร้าง องค์กร พัฒนาขีด ความ สามารถ แก่ บุคลากร พัฒนา ระบบ ICT จัดทำ งบประมาณ แบบมุ่งเน้น กลยุทธ์และ วัดความคุ้มค่าทางการเงิน (SPBB+PART) ยกระดับภาวะผู้นำแก่ทีมบริหาร CSF CSF 4. แปลงยุทธศาสตร์สู่การวัดผลและกำหนดกลยุทธ์ และโครงการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนงาน / โครงการ กิจกรรม