ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
Advertisements

สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
คณะผู้จัดทำ นักเรียนโรงเรียนฝางวิทยายน อ. บ้านฝาง ต. บ้านฝาง จ. ขอนแก่น.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา COM 3701 ระบบการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
Wireless Local Loop (WLL)
Mahidol Witthayanusorn School
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
ICT+ Introduction to Networks ดร. สุรศักดิ์ มังสิงห์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
ข้อดี-ข้อเสียของ สื่อกลาง ในการสื่อสารข้อมูล.
ข้อดี ข้อเสีย สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน
ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
ข้อเสีย 1.จำกัดความเร็ว
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ข้อดี-ข้อเสียของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล Satellite Transmission
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
เทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ ๖จาร อินเตอร์เน็ตคืออะไร เมื่อพิจารณาแล้วอาจจัดแบ่งเป็น ๒ มุมมอง - มุมมองด้านองค์ประกอบ - มุมมองด้านบริการ มุมมองด้านองค์ประกอบ อินเตอร์เน็ต หมายถึง.
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Data Communication and Network
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Fiber Optic Fiber 2014 – 2015 By Paruj.
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล (Computer Network And Data Communication) คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)
ข้อดี:ราคาถูก,มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน,ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
Chapter 5 สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ Transmission Media and Multiplexing This presentation demonstrates the new capabilities of PowerPoint and.
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
NETWORK.
ข้อดี ราคาถูก ง่ายต่อการ นำไปใช้ ข้อเสีย จำกัด ความเร็ว ใช้กับ ระยะทาง สั้นๆ สายคู่บิดเกลียว.
สายคู่บิดเกลียวข้อเสีย ราคาถูก ง่ายต่อการนำไปใช้ ข้อดี ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน จำกัดความเร็ว สายโคแอกเชียลข้อดี เชื่อมต่อได้ใน.
สายคู่บิด เกลียว ข้อดี ราคาไม่แพงมาก น้ำหนักเบา ติดตั้ง ง่าย ข้อเสีย จำกัดความเร็วใช้กับระยะทางสั้นๆ ในกรณีเป็นสายแบบ ไม่มีชีลด์ ก็จะไวต่อ สัญญาณรบกวน.
สื่อกลางในการสื่อ สารข้อมูลสายคู่บิดเกลียวสายใยแก้วนำแสงระบบไมโครเวฟสายโคแอกเชียลระบบดาวเทียม.
บทที่ 7 Networks and Data Communications
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล กิจกรรมที่ 12 ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล จุดประสงค์ 1. บอกองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 1

ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล(media) ตัวกลางประเภทมีสาย ตัวกลางประเภทไร้สาย

สื่อกลางประเภทมีสาย (Cable) 1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair : TP) สายคู่บิดเกลียวประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติกอย่างน้อย 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว ส่งข้อมูลในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 1.1 สายคู่บิตเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือสายเอสทีพี (Shielded Twisted Pair : STP) ป้องกันการรบกวนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 1.2 สายตีเกลียวคู่แบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือสายยูทีพี (Unshielded twisted pair : UTP) มีราคาต่ำกว่าแบบ STP แต่ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่า

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 2. สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม (Coaxial cable) สายโคแอกซ์เป็นสายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดี่ยวเป็นแกนกลางหุ้มด้วยฉนวน เพื่อป้องกันไฟรั่วจากนั้นหุ้มด้วยฉนานพลาสติก ลักษณะของสายเป็นแบบกลมและใช้สำหรับสัญญาณความถี่สูง ใช้ในระบบโทรทัศน์

สื่อกลางประเภทมีสาย (ต่อ) 3. สายไฟเบอร์ออปติก หรือเคเบิลเส้นใยนำแสง (Fiber optic cable) เคเบิลเส้นใยนำแสงทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง เป็นตัวกลางที่สำคัญในการส่งข้อมูลดิจิทัลได้ในปริมาณมากในระยะทางไกลหลายกิโลเมตร และมีข้อผิดพลาดในการส่งข้อมูลต่ำ

เส้นใยนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก (Fiber optic cable)

สื่อกลางประเภทไร้สาย (Wireless) เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยอาศัยการส่งสัญญาณไปกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางนำสัญญาณ

สื่อกลางประเภทไร้สาย (Wireless) 1. คลื่นวิทยุ (Radio wave) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 KHz ถึง 1 GHz

สื่อกลางประเภทไร้สาย (ต่อ) 2. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ มีการใช้งานทั้งในแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกัน หรือสถานนีบนพื้นโลกกับดาวเทียม โดยจะต้องติดตั้งจุดรับส่งสัญญาณเป็นระยะๆ

สื่อกลางประเภทไร้สาย (ต่อ) 3. อินฟราเรด (Infrared) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่อยู่ในย่านความถี่สูงกวาไมโครเวฟแต่ต่ำกว่าความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้ ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างผู้ส่งและผู้รับ

ตัวอย่างสื่อกลางที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สื่อกลาง (Media) แบบมีสาย สายคู่บิดเกลียว STP (หุ้มฉนวน) UTP (ไม่หุ้มฉนวน) สายโคแอกซ์ สายไฟเบอร์ออปติก แบบไร้สาย คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ อินฟราเรด

เปรียบเทียบคุณสมบัติของตัวกลางชนิดต่าง ๆ ระยะทางที่ใช้งานได้ STP ไม่เกิน 100 เมตร UTP Coaxial ไม่เกิน 500 เมตร Fiber optic สูงกว่า 2 กิโลเมตร Radio wave 100 เมตรภายในอาคาร 500 เมตรภายนอกอาคาร Microwave พื้นโลก 80 กิโลเมตร โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง ดาวเทียมจะได้ระยะไกลมาก โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง Infrared ประมาณ 10 เมตร โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง