พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข วันที่ 30 สิงหาคม 2553.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
Health Promotion & Prevention
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Health Promotion & Prevention
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
 ยุทธศาสตร์  การเงินการคลัง  กำลังคน  จัดซื้อร่วม.
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การสร้างแรงจูงใจและพัฒนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
รอบที่ 1 ประจำปี 2556 จังหวัดเพชรบุรี ระหว่าง วันที่ มีนาคม 2556.
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
สรุปการประชุม เขต 10.
โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
เรื่องแจ้ง กวป. เดือน ธันวาคม 2556 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัช สาธารณสุข.
ระบบส่งต่อเขต 11 และเครือข่าย
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นายชำนาญ ไวแสน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ การสัมมนา พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ ระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 โดย ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้องประชุมวีนัส โรงแรมพาราไดซ์ จังหวัดอุดรธานี

นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556 ข้อที่ 2 เพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ โครงการสำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เชื่อมโยงกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุขปี2556 1.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดข้อ11(กระทรวง)/ระบบบริการ 2.โครงการพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขในเขตสาธารณสุขหน่วยบริการทุติยภูมิ/ตติยภูมิ ตัวชี้วัดข้อ11(กระทรวง)/ระบบบริการ

นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขปี2556 กับเขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่8 เขตสุขภาพ/จังหวัด เป้าหมายระยะเวลา 1 ปี ประเด็นหลัก 1.2 ระบบบริการสุขภาพ หัวข้อ 1.2.1 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1.ระบบบริการ ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ 70 ของแผนการเนินงาน) 2.ระบบสนับสนุน/การบริหาร กระบวนการธรรมาภิบาล(ประสิทธิภาพ) ต้นทุนค่ายาและค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์เฉลี่ยลดลง(ร้อยละ10) (ในเขตสุขภาพเฉลี่ยลดลง)

(สปสช.ปกส.กรมบัญชีกลาง 1.Service Achievement Plan 10 สาขา รายเขต --- รายจังหวัด --- ราย รพ. 1.1 10 สาขา +Area Problem (เช่นมะเร็งท่อน้ำดีอีสาน) +Special (โครงการพระราชดำริ+ สาธารณสุขชายแดน+ยาเสพติด) 1.2 Refer System 1.3 การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย 1.4 ร่วมกับเอกชน,รพ.กระทรวงอื่นๆ 1.5 แผนพัฒนาคุณภาพบริการ 2.Administrative Plan 2.1 เงินบำรุง 2.2 จัดซื้อวัสดุ Labร่วม ,ยาร่วม,วัสดุการแพทย์ร่วม 2.3 แผนบุคลากร 2.4 แผนอภิบาลระบบ เช่นตรวจสอบ/ วัดประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ฯลฯ AERA HEALTH BOARD (เขตสุขภาพ) (PROVIDER BOARD) Purchaser (สปสช.ปกส.กรมบัญชีกลาง ,อปท,รัฐวิสาหกิจ) 3.Invertment Plan เขต 4. แผนส่งเสริมป้องกันโรค และร่วมภาคีเครือข่าย 4.1 กลุ่มวัยต่างๆ (ทารก,0-2 ปี,3-5ปี,นักเรียน,วัยรุ่น+BS)ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทย, ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ 4.2ป้องกันโรคไม่ติดต่อตามปัญหาของพื้นที่(เช่น อาชีวอนามัย COPD มะเร็งในพื้นที่) 4.3 ควบคุมป้องกันโรคติดต่อ 4.4 อาหารปลอดภัย,สร้างความรอบรู้เรื่องสุขภาพ,ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคส่วนต่างๆ 4.5สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ(เหล้า บุหรี่ Road Safety) 4.6 DHS 4.7 ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4.8 ลดตาย อุบัติเหตุ เด็กจมน้ำตาย ฯลฯ

โครงการสำคัญ:กิจกรรม ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่2 ดำเนินการสนับสนุนพื้นที่ 1.โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ 2.โครงการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ การตรวจเอชไอวีซีโรโลยีแห่งชาติ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป้าหมาย ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรค 320 แห่ง เป้าหมาย ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล 96 แห่ง - ในสังกัด สป.จำนวน 79 แห่ง - นอกสป.จำนวน 17 แห่ง (รัฐ 8 เอกชน 9)

ตัวชี้วัด 1.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวนห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพ 96 แห่ง 1.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1.2.1 ตัวชี้วัด(กรม) ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติกาโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ ดำเนินการระบบคุณภาพตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการ (งานเทคนิคการแพทย์หรือ ISO 15189) และเป็นสมาชิกการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ 1.2.2 ตัวชี้วัด (ศวก.) ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์(สป.)ที่รักษาสถานะภาพและกำลังพัฒนาได้รับการรับรองตามมาตรฐาน (งานเทคนิคการแพทย์หรือISO 15189 ) (29/41 แห่ง)

โครงการ:กิจกรรมสำคัญ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่2 ดำเนินการสนับสนุนพื้นที่ 3.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายบริการที่ 8 เป้าหมาย หน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 392 แห่ง ( ร้อยละ43ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ในพื้นที่ 910แห่ง) 3.1ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ:จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย 3.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ:ร้อยละ 70 ของหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.ขนาดใหญ่ 111 แห่ง ศสม. 22 แห่งรวม 133 แห่ง) เข้าร่วมการประเมินคุณภาพการตรวจ ในจำนวน 4 รายการทดสอบ ที่ให้บริการ ได้เอง

1.โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณผู้รับผิดชอบ 1.1. จัดสัมนาการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพระบบเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการ 9 ม.ค. 687,000 ศวก.ที่ 2 1.2. จัดอบรมความรู้ตามข้อกำหนดมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ 23-24มค. 1.3. จัดอบรม การบำรุงสอบเทียบเครื่องมือ ม.ค.-มี.ค. 1.4. สอบเทียบเครื่องมือพื้นฐาน 1,850 เครื่อง ต.ค.55-ก.ค.56 1.5. Internal Audit Lab กพ.-กย

สมาชิกและสปสช.แห่งชาติ 2.โครงการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ การตรวจเอชไอวีซีโรโลยีแห่งชาติ สาขา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 2.1 ส่งตัวอย่างประเมิน คุณภาพห้องปฏิบัติการ ปีละ 3 ครั้งๆละ 8ตัวอย่าง 11 ธ.ค.55 4 มี.ค.56 7 พ.ค.56 สมาชิกและสปสช.แห่งชาติ 2.2.จัดสัมมนาสมาชิกเครือข่าย

รักษาสถานะ/ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง จำนวนห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 กับการพัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ จังหวัด จำนวน ผ่านการรับรอง รักษาสถานะ/ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง ควร พัฒนา อุดรธานี 18 15 3/2 หนองคาย 6 3 1/0 2 หนองบัวลำภู 5 1 เลย 13 4 9 บึงกาฬ 8 สกลนคร 17 10 นครพนม 11 7 รวม(แห่ง) 79 40 6/2 33

กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนา จำนวน 33 แห่ง กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนา จำนวน 33 แห่ง จังหวัด ห้องปฏิบัติการ ของรพ. เป้าหมายดำเนินการ 70% ปี 2556 ที่ควรผ่านการรับรอง ตามมาตรฐาน หนองคาย สังคม สระใคร 1.4 แห่ง 1.สังคม 2.สระใคร หนองบัวลำภู นาวังฯ 0.7 แห่ง บึงกาฬ บึงกาฬ เซกา บุ่งคล้า ศรีวิไล 2.8 แห่ง 1.เซกา 2.บุ่งคล้า 3. ศรีวิไล เลย 9 แห่ง นาแห้ว ปากชม ภูเรือ ภูกระดึง นาด้วง ท่าลี่ ภูหลวง ผาขาว วังสะพุง 6.3 แห่ง 1.ปากชม 2.ภูเรือ 3.นาด้วง 4.ท่าลี่ 5.วังสะพุง 6.ผาขาว 7.ภูกระดึง

กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลที่ควรพัฒนา จำนวน 33 แห่ง จังหวัด ห้องปฏิบัติการ ของรพ. เป้าหมายดำเนินการ 70% ปี 2556 ที่ควรผ่านการรับรอง ตามมาตรฐาน สกลนคร 10 แห่ง ส่องดาว คำตากล้า โพนนาแก้ว นิคมน้ำอูน เต่างอย เจริญศิลป์ สกลนคร วานรนิวาส พระอาจารย์แบนฯ กุดบาก 7.0 แห่ง 1.ส่องดาว 2.คำตากล้า 3.โพนนาแก้ว 4.กุดบาก 5.เต่างอย 6. เจริญศิลป์ 7.สกลนคร 8.พระอาจารย์แบนฯ นครพนม 7 แห่ง นาแก ท่าอุเทน บ้านแพง โพนสวรรค์ นาทม นาหว้า ปลาปาก 4.9 1.ท่าอุเทน 2.บ้านแพง 3.นาทม 4.นาหว้า 5.ปลาปาก

กลุ่มห้องปฏิบัติการโรงพยาบาล ที่อยู่ในระหว่างรักษาสถานะภาพ 1.รพ.โคกศรีสุพรรณ ครบกำหนด 20 ก.ค.55 2.รพ.กุมภวาปี ครบกำหนด 21 ก.ย.55 ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง 3.รพ.บ้านผือ ครบกำหนด 27 ก.ย.55 ตรวจ-แก้ไข รอการรับรอง 4.รพ.หนองหาน ครบกำหนด 13 ต.ค.55 5.รพ.หนองคาย ครบกำหนด 15 ต.ค.55 6.รพ.ร.ธาตุพนม ครบกำหนด 27 ต.ค.55

งบประมาณผู้รับผิดชอบ 3.โครงการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุขของหน่วยบริการปฐมภูมิเครือข่ายบริการที่ 8 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณผู้รับผิดชอบ 3.1 ประชุมผู้เกี่ยวข้องในเครือข่ายเพื่อการพัฒนา รพ.สต.ประเมินผลและการควบคุมคุณภาพ 1.มค-กพ. 2.เม.ย.-มิ.ย. 782,200 ศวก.ที่ 2 3.2 สำรวจชนิดและปริมาณชุดทดสอบที่ใช้งานใน รพ.สต. กพ. 3.3 จัดอบรมการทดสอบด้านชันสูตร และการใช้ชุดตรวจ จำนวน 4 รายการ ก.พ.-มี.ค. 3.4 จัดเตรียมและส่งตัวอย่างประเมินคุณภาพ (QC sample) จำนวน 4 ชนิดและจัดทำรายงาน พค.-มิย.

ข้อมูล ศสม.และรพ.สต. เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 ข้อมูล ศสม.และรพ.สต. เขตสุขภาพเครือข่ายบริการที่ 8 จังหวัด จำนวนศสม. (แห่ง) ขนาด รพสต.(แห่ง) รวม (แห่ง) ใหญ่ กลาง เล็ก อุดรธานี 6 44 138 27 215 หนองคาย 2 11 55 8 76 บึงกาฬ 1 7 43 62 หนองบัวลำภู 9 67 85 เลย 77 42 129 สกลนคร 32 127 23 188 นครพนม 3 151 155 22 111 910

เป้าหมายดำเนินการพัฒนา ศสม.และรพ.สต. ปี 2556 เป้าหมายดำเนินการพัฒนา ศสม.และรพ.สต. ปี 2556 จังหวัด จำนวนศสม. (แห่ง) ขนาด รพสต.(แห่ง) รวม (แห่ง) ใหญ่ กลางและเล็ก อุดรธานี 6 44 43 93 หนองคาย 2 11 20 33 บึงกาฬ 1 7 19 27 หนองบัวลำภู 9 25 36 เลย 47 56 สกลนคร 32 81 นครพนม 3 63 67 22 111 260 393

ช่องทางการติดต่อสื่อสาร เข้าเว็บไซต์ www.google.com พิมพ์คำว่า ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 เลือกงานพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการในเครือข่าย EQA-HIV NEONATAL SCREENING โครงการพัฒนาระบบคุณภาพ รพ.สต.

ช่องทางการติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสาร ทางจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (E-mail) E-mail : jintanaw005@hotmail.com : jintana.w@dmsc.mail.go.th การติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์/โทรสาร หมายเลขโทรศัพท์ : 0 4220 7364-66 ต่อ 108-109 : 0 4220 7369(สายตรง) : 08 8549 0596 , 09 0197 6483 หมายเลขโทรสาร : 0 42207 367,0 4220 7369 รายชื่อผู้ประสานงาน ทนพญ.จินตนา ว่องวิไลรัตน์ นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ โทร 08 6219 2891 นายสุพัฒชัย ปราบศตรู นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร 08 1053 1261 น.ส.วรัญชนก ครุฑราช เจ้าพนักงานธุรการ โทร 08 1799 3675